กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อบต.รือเสาะ สร้างสุข สู้ภัยโรคจากน้ำท่วม ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะ

ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามที่ได้มีสถานการณ์ฝนตกหนักและ เกิดภาวะอุทกภัยน้ำท่วมในจังหวัดนราธิวาส ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาสทั้งนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประสบภัยสามารถเขียนโครงการด้านสุขภาพขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมตลอดจนโครงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้วจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่หรือ กองทุนสุขภาพตำบลตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ10(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์
สำหรับในพื้นที่ อบต.รือเสาะ มีพื้นที่ได้รับผลกระทบจำนวน 7 หมู่บ้าน รวมกันหลายครัวเรือน อบต.รือเสาะ มีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือ โรคน้ำกัดเท้า หรือ บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วมส่งผลต่อการขาดแคลนน้ำดื่ม ตลอดจนการระบาดของโรคฉี่หนู หรือ โรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องดำเนินโครงการเผชิญและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติ ที่ไม่สามารถเดินทางไปรับบริการ ณ หน่วยบริการตามปัญหาสุขภาพและความจำเป็นได้ จึงมีการจัดโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม

ครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัยได้รับการดูสุขภาพ ร้อยละ 80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัย

ชื่อกิจกรรม
สำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จ้าหน้าที่ลงสำรวจประชาชนที่ได้รับผลกระทบ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุอุทกภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 เยี่ยมติดตาม

ชื่อกิจกรรม
เยี่ยมติดตาม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การมอบชุดยาสามัญประจำบ้านเพื่อบรรเทาโรคจากน้ำท่วม ชุดยาน้ำท่วม 100 บาท x 990 ชุด เป็นเงิน 99,000 บาท 2.เยี่ยมติดตามผู้ประสบอุทกภัยร่วมกับ รพ.สต.ในพื้นที่ 3.ไวนิลโครงการฯ 1 ผืน จำนวน 800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
99800.00

กิจกรรมที่ 3 ให้สุขศึกษา

ชื่อกิจกรรม
ให้สุขศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ผู้ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยได้รับความรู้เกี่ยวการดูตนเองจากโรคที่มาจากน้ำท่วม

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ประสบภัยมีความรู้ในการดูแลตนเองจากโรคที่มากับน้ำท่วม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 99,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ครัวเรือนในพื้นที่ประสบอุทกภัยได้รับการดูแลสุขภาพและไม่เป็นโรคที่เกิดจากน้ำท่วม


>