กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการทำยาหม่องสมุนไพร ทากันยุงป้องกันไข้เลือดออก/ทาแก้ปวดเมื่อย กลุ่มผลิตภัณฑ์ขี้พร้าไฟ ประจำปี 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการทำยาหม่องสมุนไพร ทากันยุงป้องกันไข้เลือดออก/ทาแก้ปวดเมื่อย กลุ่มผลิตภัณฑ์ขี้พร้าไฟ ประจำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์

กลุ่มผลิตภัณฑ์ขี้พร้าไฟ

1.นายกมล เนตินานนท์
2.นายมิตร รักจุ้ย
3.นางสมศรี ดำช่วย
4.นางเพ็ญศรี ไชยเพชร
5.นางอนงค์ ชูปู

หมู่ที่ 1 - 8 ตำบลพนมวังก์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของแกนนำครอบครัว อสม ผู้สูงอายุผู้นำชุมชนมีความรู้เรื่องสมุนไพร และการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาใช้ผลิตยาหม่อง

 

10.00
2 ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพรทาแก้ปวดเมื่อยร่างกาย

 

30.00
3 ร้อยละประชาชนกลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพร ทาป้องกันยุงกัด

 

10.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ แกนนำครอบครัว อสม. ผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรและนำสมุนไพรมาใช้ในการผลิตยาหม่องสมุนไพรใช้ในชุมชน ทาป้องกันยุงกัด ป้องกันไข้เลือดออก/ทาแก้ปวดเมื่อย

แกนนำครอบครัว อสม. ผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรและมีทักษะ ในการผลิตยาหม่องสมุนไพรในชุมชนการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก/แก้ปวดเมื่อยเพิ่มขี้น ร้อยละ 50

10.00 50.00
2 เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพร ทาป้องกันยุงกัด ป้องกันไข้เลือดออก

ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพร ทาป้องกันยุงกัด ป้องกันไข้เลือดออก เพิ่มขึ้นร้อยละ 60

30.00 60.00
3 เพื่อให้ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพร ทาแก้ปวดเมื่อย

ประชาชน กลุ่มเสี่ยง ใช้ยาหม่องสมุนไพร ทาแก้ปวดเมื่อย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50

10.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5,826
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมแกนนำครอบครัว อสม.ผู้สูงอายุผู้นำชุมชนให้ความรู้และสาธิตการทำยาหม่องสมุนไพรป้องกันไข้เลือดออกและแก้ปวดเมื่อย

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมแกนนำครอบครัว อสม.ผู้สูงอายุผู้นำชุมชนให้ความรู้และสาธิตการทำยาหม่องสมุนไพรป้องกันไข้เลือดออกและแก้ปวดเมื่อย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดประชุมแกนนำครอบครัว อสม.ผู้สูงอายุผู้นำชุมชนให้ความรู้ และสาธิตการทำยาหม่องสมุนไพรป้องกันไข้เลือดออกและแก้ปวดเมื่อย
โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ค่าวัสดุทำยาหม่อง ดังนี้
1.ขวดบรรจุ ขนาด 20 ซีซี จำนวน 3,000 ใบ ๆ ละ 5 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
2.วาสลีน 3 กก.ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 375 บาท
3.พาราฟิน 3 กก.ๆ ละ 125 บาท เป็นเงิน 375 บาท
4.ราโรลีน 1 กก.ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
5.น้ำมันระกำ 6 ปอนด์ ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
6.น้ำมันงา 30 แกลลอน ๆ ละ 420 บาท เป็นเงิน 12,600 บาท
7.นำ้มันตะไคร้หอม 5 ปอนด์ ๆ ละ 650 บาท เป็นเงิน 3,250 บาท
8.น้ำมันไพรสกัด 5 ปอนด์ ๆ ละ 450 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท
9.พิมเสน 3 กก.ๆ ละ 1,100 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท
10.การบูร 3 กก.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
11.เมนทอล 4 กก.ๆ ละ 1,500 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
12.ดอกกานพลูู 2 กก.ๆ ละ 550 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท
13.กระวาน 2 กก.ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
14.ดอกจันทร์ 1 กก.ๆ ละ 950 บาท เป็นเงิน 950 บาท
15.สติกเกอร์ติดขวด 10 ตร.ม. ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
งบประมาณ 54,900 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
54900.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมให้ความรู้ประชาชน เรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน และการใช้ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงและทาแก้ปวดเมื่อย ในเวทีการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านจำนวน 8 หมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมให้ความรู้ประชาชน เรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน และการใช้ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงและทาแก้ปวดเมื่อย ในเวทีการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านจำนวน 8 หมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมให้ความรู้ประชาชน เรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน และการใช้ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงและทาแก้ปวดเมื่อย ในเวทีการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านจำนวน 8 หมู่บ้าน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 100 ของหมู่บ้าน ได้รับการแนะนำและรณรงค์การใช้สมุนไพร และการใช้ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงและทาแก้ปวดเมื่อย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามประเมินผลการใช้สมุนไพร ในการทาป้องกันยุงกัด /แก้ปวดเมื่อยรายครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผลการใช้สมุนไพร ในการทาป้องกันยุงกัด /แก้ปวดเมื่อยรายครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

มีการสำรวจ ติดตามการใช้ยาหม่องสมุนไพร ในการทาป้องกันยุงกัด /แก้ปวดเมื่อยรายครัวเรือนใช้แบบสอบถามประสิทธิภาพของการใช้ยาหม่องทากันยุง/ทาแก้ปวดเมื่อย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 50 ของครอบครัวมีการใช้ยาหม่องสมุนไพร ในการทาป้องกันยุงกัด /แก้ปวดเมื่อยรายครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 54,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.แกนนำครอบครัวอสม. ผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน มีความรู้และนำสมุนไพรพื้นบ้านในการผลิตยาหม่องสมุนไพรในชุมชนการท่าเพื่อป้องกันยุงกัดป้องกันไข้เลือดออก/ทาแก้ปวดเมื่อยเพิ่มขี้น
2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อสม. ผู้นำชุมชน ใช้ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงป้องกันไข้เลือดออกและทาปวดเมื่้อยกล้ามเนื้อ เพื่มขี้น
3.ประชาชนใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านมาใช้ในการดูแลตนเอง
4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง อสม. ผู้นำชุมชน และผู้ใช้ ยาหม่องสมุนไพรทากันยุงและทาปวดเมื่้อยกล้ามเนื้อ มีประเมินประสิทธิผลของการนำไปใช้ป้องกันยุงกัด/ทาปวดเมื่อยได้จริง


>