กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพในช่องปาก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตะบิ้ง

โรงเรียนบ้านเจาะกือแย

ตำบลตะบิ้ง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันฟันผุแก่นักเรียน

ร้อยละของนักเรียนที่เกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจเรื่องต้นเหตุของการเกิดฟันผุ(เกณฑ์ร้อยละ 95)

402.00 1.00
2 2.เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการแปรงฟันและการดูแลสุขภาพในช่องปากอย่างสม่ำเสมอ

ร้อยละของนักเรียนเกิดพฤติกรรมมีนิสัยรักการแปรงฟันและดูแลสุขภาพในช่องปากอย่างดี(เกณฑ์ร้อยละ 90)

402.00 1.00
3 3.สรรหานักเรียนต้นแบบ "หนูน้อยรักฟัน" เพื่อเป็นนักเรียนตัวอย่างที่เป็นต้นแบบให้ผู้อื่นได้และกระตุ้นให้เกิดการกระแสรักการแปรงฟันในภาพรวมได้

นักเรียนทุกๆชั้นเรียนเกิดค่านิยมรักและชอบการแปรงฟัน และร้อยละ 100 ของชั้นเรียนสามารถคัดเลือกต้นแบบ "หนูน้อยรักฟัน"

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 402
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธีแก่นักเรียนและผู้ปกครอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธีแก่นักเรียนและผู้ปกครอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ให้ความรู้เรื่องสุขภาพในช่องปาก เช่น โรคในช่องปากที่มักเกิดกับบุคคลที่แปรงฟันไม่ถูกวิธีหรือแปรงฟันไม่สม่ำเสมอ ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟันอย่างถูกวิธีเพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนปฐมวัยได้ปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องจนติดเป็นนิสัย ตลอดจนให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันอย่างถูกวิธี ค่าวิทยากร  3600 บาท   วัสดุ แปรงสีฟัน  402 คน x  15 บาท  = ุ6030  บาท   ยาสีฟัน  402 คน x  40 บาท  = ุ16080  บาท  จัดทำสื่อใช้ประกอบการอบรม 3000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต นักเรียนได้รับความรู้ ผู้ปกครองได้รับความรู้ และเกิดค่านิยมรักในการแปรงฟันอย่างถูกวิธี ผลลัพธ์ เกิดความพึงพอใจของผู้ปกครอง นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องในสังคม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
28710.00

กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมสร้างให้เกิดความตระหนักและสนใจ

ชื่อกิจกรรม
ประชาสัมพันธ์โครงการพร้อมสร้างให้เกิดความตระหนักและสนใจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำป้ายประชาสมพันธ์โครงการ 2000 บาท จัดทำสื่อการสอน/สื่อให้ความรู้ 4800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต นักเรียนได้เรียนรู้ ผลลัพธ์ นักเรียนเกิดความเข้าใจ เกิดความตระหนัก และสามารถสร้างค่านิยมในการรักการแปรงฟันถึงครอบครัวและสังคม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6800.00

กิจกรรมที่ 3 สรรหานักเรียนต้นแบบ "หนูน้อยรักฟัน"

ชื่อกิจกรรม
สรรหานักเรียนต้นแบบ "หนูน้อยรักฟัน"
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สรรหานักเรียนต้นแบบเพื่อกระตุ้นให้เกิดกระแสการรักการแปรงฟัน เพื่อกระตุ้นให้สังคมของนักเรียนมีค่านิยมในการดูแลสุขภาพในช่องปาก และสรรหานักเรียนต้นแบบและมอบรางวัลหรือโล่รางวัล นักเรียนที่ได้รับรางวัล ห้องละ 2 คน x 18 ห้อง x มูลค่ารางวัลละ 200 บาท  =  7200  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผลผลิต นักเรียนที่มีความตั้งใจในการร่วมกิจกรรม และนักเรียนที่มุ่งมั่นที่สุดจะได้รับรางวัล ผลลัพธ์ นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา  และผู้เกี่ยวข้องในสังคม เกิดความพึงพอใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,710.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียนเกิดค่านิยมและเกิดพฤติกรรมในการดูแลรักษาฟันของตนเองเป็นอย่างดีทำให้ลดปัญหาเรื่องโรคฟันผุ โรคในช่องปาก และมีสุขภาพในช่องปากดีขึ้น


>