กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง รหัส กปท. L3312

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเพาะปลูกเพื่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box
กลุ่มประชาชน
กลุ่มเกษตรอินทรีย์บ้านโคกแมว
กลุ่มคน
1.นายโชคชัย สิงห์ดำ
2.นางสุภาพร พวงพวา
3.นายวิเชียร พิมสาย
4.นางวรัตมาแสงจันทร์
5.นายประยุทธ์ อิทรสุวรรณ
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลโคกม่วงประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นอาชีพหลัก มีการปลูกผักสวนครัว ปลูกไม้ผล และพืชไร่ ส่วนหนึ่งมีใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี ทำให้เกษตรกรมีปัญหาเรื่องต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง การใช้สารเคมีในกำจัดศัตรูพืช ส่งผลกระทบจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่มีต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อม ทําให้คุณภาพสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลงเกิดผลเสียต่อสุขภาพอนามัยของเกษตรกรเอง
สำหรับการรับประทานผัก และผลไม้ที่ปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตรที่เป็นสารก่อโรค เช่น โรคมะเร็งนับเป็นสาเหตุหนึ่ง โดยเฉพาะจากยาฆ่าแมลง และยาปราบวัชพืชกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต ที่ทำให้เกิดโรคมะเร็งสมอง และมะเร็งเม็ดเลือด และยาฆ่าแมลงกลุ่มคาร์บาเมตบางชนิดเช่น คาร์บาริล (Carbaryl) และคาร์โบฟูแรน (Carbofuran) ที่เป็นสารก่อมะเร็งนอกจากนี้ปริมาณไนเตรท และไนไตรท์ ที่ไม่เพียงแต่ได้รับจากการบริโภคอาหารประเภทเนื้อสัตว์ และผลิตภัณฑ์เนื้อแปรรูปเท่านั้น แต่ยังได้รับจากพืชผักด้วย โดยในการปลูกผักใบ เกษตรกรนิยมใช้ปุ๋ยเคมีสูตรที่มีธาตุไนโตรเจนสูง เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียม ไนเตรท ปุ๋ยยูเรีย เพื่อส่งเสริมการเจริญของยอดและใบ ทำให้ผลผลิตเจริญเติบโตเร็ว แต่การใส่ปุ๋ยเคมีมากเกินไป ทำให้มีการตกค้างของไนเตรทปริมาณสูงในผัก และการได้รับสารไนเตรตสะสมเป็นเวลานานๆ นี้เองที่กลายเป็นสารก่อมะเร็งในกลุ่มไนโตรซามีน (Nitrosamine) ทำให้เกิดมะเร็งตับ มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งหลอดอาหาร
จากปัญหาดังกล่าวทำให้เกิดกระแสการบริโภคผักปลอดสารพิษ โดยเฉพาะผักอินทรีย์ เนื่องจากผักในระบบนี้มีความปลอดภัย ไม่มีการปนเปื้อนของสารเคมีในระบบการผลิต แต่การบริหารจัดการในแปลงค่อนข้างยุ่งยากกว่าการปลูกในระบบเคมี การถ่ายทอดความรู้เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ผลิต คือตัวเกษตรกร มีความสำคัญยิ่งในการสนับสนุนให้เกิด ผลิตที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ทางกลุ่มจึงจัดทำโครงการ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเพาะปลูกเพื่อสุขภาพของเกษตรกรและผู้บริโภค ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้มีความรู้พิษภัยของสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพแก่เกษตรกร
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรมีความรู้ถึงพิษภัยของสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพได้
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเพาะปลูกของเกษตรกร
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเพาะปลูกได้
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 20.00
  • 3. เพื่อส่งเสริมการบริโภคผักปลอดภัยจากสารพิษ
    ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนในชุมชนได้บริโภคผักปลอดภัยจากสารพิษ
    ขนาดปัญหา 246.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ฝึกอบรมความรู้พิษภัยของสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพ
    รายละเอียด

    -ค่าวิทยากร จำนวน1 ชมๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (จำนวน 20 คน) จำนวน 20 ชุด ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท
    -ค่าวัสดุ ,สื่อ ,สมุดบันทึกต่างๆป้ายโครงการ เป็นจำนวนเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 1,800.00 บาท
  • 2. พัฒนาทักษะการเพาะปลูกพืชแบบปลอดภัยต่อสุขภาพ
    รายละเอียด

    2.1 ฝึกการทำปุ๋ยอินทรีย์ / สารชีวภัณฑ์
    - ค่าวัสดุสาธิตทำปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 1 ตัน ๆละ 4,000 บาท รวม 4,000 บาท
    - ค่าวัสดุฝึกทำสารชีวภัณฑ์ 400 บาท
    - ค่าวิทยากร สาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพการทำสารชีวภัณฑ์และการเทคนิคการเพาะกล้า จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 1 ชม ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
    2.กิจกรรมปลูกผักแบบปราณีต
    - ค่าวัสดุฝึกการเพาะปลูกอย่างประณีตเช่น เมล็ดพันธุ์ผัก และวัสดุเพาะกล้า ฯลฯจำนวน 2,000 บาท
    - ค่าวิทยากร ฝึกการปลูกผักแบบปราณีต จำนวน1 ครั้ง ๆละ 1 ชม. ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
    - ฝึกการจำแนกโรคพืชและแมลงศัตรูพืช จำนวน 1 ชั่วโมง
    - ค่าวิทยากรฝึกการจำแนกโรคพืช และแมลงศัตรูพืช จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 1ชม.ๆละ 600 บาท รวม 600 บาท

    งบประมาณ 8,200.00 บาท
  • 3. ตรวจสารเคมีตกค้างในผลผลิต
    รายละเอียด

    ค่าชุดตรวจสอบสารพิษตกค้างในผัก,ผลไม้ GT พร้อมอุปกรณ์ จำนวน 1 ชุด (30 ตัวอย่าง)จำนวน 5,000 บาท
    1.จัดซื้อชุดตรวจเคมีตกค้างในผัก 1 ชุด (30 ตัวอย่าง) ประกอบด้วย
    - ตรวจ กลุ่มสารประกอบคาร์บาเมต
    - ตรวจ กลุ่มสารประกอบออการ์โนฟอตเฟต

    2.สุ่มเก็บตัวอย่างผลผลิตของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 20 ราย รวม 30 ตัวอย่าง

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 4. กิจกรรมติดตามและประเมินผลโครงการ
    รายละเอียด

    1.ติดตามประเมินผลการดำเนินโครงการ
    - เก็บตัวอย่างผลผลิต ตรวจสารตกค้างหลังจากเริ่มการปลูก เวลา 30 วัน
    - เก็บข้อมูลครัวเรือนที่นำผลผลิตไปบริโภค หลังจากครบอายุการเกี่ยว

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 17 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

บ้านโคกแมว หมู่ที่ 10 ตำบลโคกม่วงอำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 15,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.เกษตรกรมีความรู้ถึงพิษภัยของสารเคมีทางการเกษตรต่อสุขภาพ
2.เกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพาะปลูกของเกษตร
3.เกษตรกรมีทักษะการเพาะปลูกพืชแบบปลอดภัยต่อสุขภาพ 4.ผู้บริโภคได้บริโภคผลผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรไม่มีสารเคมีปนเปื้อน

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง รหัส กปท. L3312

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง รหัส กปท. L3312

อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 15,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................