กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารและจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่าหมอไทร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร

สำนักเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่าหมอไทร

-

ตำบลท่าหมอไทร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด)

 

28.29
2 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

 

10.00
3 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่อง ความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ(คน)

 

1.00
4 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

18.00
5 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ

 

12.00
6 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %

28.29 30.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)

1.00 20.00
3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)

18.00 12.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)

10.00 10.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

12.00 10.00
6 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

3.00 4.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 20

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 05/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปี

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 30 บาท รวม 4 ครั้ง เป็นเงิน 2,400 บาท
  2. ค่าตอบแทนคณะกรรมการ และผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน ๆ ละ 400 บาท เป็นเงิน 32,000 บาท
  3. ค่าเอกสารการประชุม 800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีการประชุมคณะกรรมการกองทุน
  2. ผลการพิจราณาของคณะกรรมการในการพิจาณาโครงการและเรื่องอื่นๆ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35200.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมอนุกรรมการกองทุนเพื่อกลั่นกรองโครงการ การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง กองทุน LTC

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอนุกรรมการกองทุนเพื่อกลั่นกรองโครงการ การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิง กองทุน LTC
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 30 บาท รวม 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,800 บาท
  2. ค่าตอบแทนอนุกรรมการและผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 20 คน ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  3. ค่าเอกสารการประชุม 500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีการประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ
  2. กรรมการพิจารณากลั่นกรองโครงการ
  3. กรรมการอนุมัติแผนการดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8300.00

กิจกรรมที่ 3 พัฒนาสักยภาพคณะกรรมการกองทุน และผู้ขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาสักยภาพคณะกรรมการกองทุน และผู้ขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 10 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
  2. ค่ายานพาหนะไป-กลับ จำนวน 30 คน ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท
  3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 30 คน ๆ ละ 100 บาท จำนวน 5 มื้อ เป็นเงิน 15,000 บาท
  4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 คน ๆ ละ 30 บาท จำนวน 3 มื้อ เป็นเงิน 2,700 บาท
  5. ค่าที่พัก จำยวน 30 คน ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38700.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงิน รายรับ-รายจ่ายประจำปี

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพกองทุนและแผนการเงิน รายรับ-รายจ่ายประจำปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 20 คน ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
6 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 87,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีการจัดประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ และผู้เกี่ยวข้องไม่น้อยกว่าปีละ 4 ครั้ง
2. เพิ่มศักยภาพของคณะกรรมการกองทุนฯ
3. เพิ่มร้อยละการใช้งบประมาณกองทุนฯ
4. เพิ่มจำนวนกลุ่ม/องค์กร ที่ขอสนับสนุนงบประมาณ
5. เพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และเกิดความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณของกองทุนฯ
6. ผู้ขอรับทุนสามารถปิดโครงการได้ทันภายในปีงบประมาณ


>