กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาคำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขยับกายสบายชีวีด้วยวิธีไม้พอง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาคำ

องค์การบริหารส่วนตำบลนาคำ

นายภาณุมาศ แก้วพิลึก
นางอรทัย กลมเกลียว
นางกนิฐา นาเวียง
นางสาวศริญญา สุดแสน
นางสาวมัจฉรี พรอดทน

หมู่ที่ 1 - 6 ตำบลนาคำอำเภอคำเขื่อนแก้วจังหวัดยโสธร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

91.67
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

72.00
3 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

41.18
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

82.21

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

91.67 95.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

72.00 80.00
3 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

41.18 65.50
4 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

82.21 90.00

1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเอง และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั้งทางด้านโภชนาการการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจและสังคม
3. เพื่อเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน 500
กลุ่มผู้สูงอายุ 400
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2022

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้วิธีการออกำลังกายด้วยไม้พลองและการดูแลสุขภาพของตนเอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้วิธีการออกำลังกายด้วยไม้พลองและการดูแลสุขภาพของตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้วิธีการออกำลังกายด้วยไม้พลองและการดูแลสุขภาพของตนเอง แก่แกนนำสุขภาพ จำนวน ๖๐ คน โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าอาหารผู้เข้าอบรม  จำนวน ๖๐ คน x คนละ ๘๐ บาท x ๑ มื้อ   เป็นเงิน   ๔,๘๐๐  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม  จำนวน ๖๐ คน x คนละ ๒๕ บาท x ๒ มื้อ    เป็นเงิน   ๓,๐๐๐  บาท - ค่าสมมนาคุณวิทยากร  จำนวน ๖ ชั่วโมง x ชั่วโมงละ ๖๐๐ บาท   เป็นเงิน   ๓,๖๐๐  บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ  จำนวน  ๑  ผืน                 เป็นเงิน      ๕๐๐  บาท                รวมเป็นเงินทั้งสิ้น   ๑๑,๙๐๐  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
7 ธันวาคม 2565 ถึง 7 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้แกนนำสุขภาพนำออกกำลังกาย 60 คน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11900.00

กิจกรรมที่ 2 กายออกกำลังกายด้วยไม้พลอง

ชื่อกิจกรรม
กายออกกำลังกายด้วยไม้พลอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

แกนนำสุขภาพนำประชาชนออกกำลังกายด้วยไม้พลอง ทุกหมู่บ้าน สัปดาห์ละ 3 วัน ทุกสัปดาห์

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ดัชนีเส้นรอบเอวของผู้ออกกำลังกายลดลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองในชีวิต ประจำวันได้
2. ประชาชนได้รับการพัฒนาคุณภาพทั้งทางด้านโภชนาการการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจและสังคม
3. ประชาชนมีขวัญและกำลังใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า


>