กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา ในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ประจำปี 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กลุ่มคน
นายพิทักศิษย์ พานิชธนาคม ผอ.กองสาธารณสุขฯ
นายสาวอรุณวาตี สิทธิเส็ม หัวหน้าฝ่ายบริการฯ
นางสาวนัรกีส ยะปา โทร. 083-7502735
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสเดงกีที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค โรคนี้ได้กลายเป็นปัญหาสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลก เนื่องจากสามารถแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็วและมีอันตรายถึงแก่ชีวิต โดยกลุ่มอายุที่พบอัตราป่วยมากที่สุด คือ 5-14 ปี รองลงมา 15-24 ปี และอายุแรกเกิด-4 ปี ตามลำดับ ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มวัยเรียน การระบาดของโรคเกิดได้ทั้งปีโดยเฉพาะช่วงฤดูฝน คือตั้งแต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมของทุกปีจะพบผู้ป่วยจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้มีน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มประชากรของยุงเป็นอย่างดี ยุงลายออกหากินในเวลากลางวัน ซึ่งเป็นเวลาที่เด็กส่วนใหญ่อยู่ในโรงเรียน ถ้าโรงเรียนมีแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายจะทำให้การระบาดของโรคนี้เป็นไปอย่างกว้างขวาง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก มีเจตคติที่จะกำจัดทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และมีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด จะเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกอย่างได้ผล จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ตุลาคม พ.ศ.2566 ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 123,081 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 186.23 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 73 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.20 ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลจังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ตุลาคม พ.ศ.2566 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1,460 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 179.60 ต่อประชากรแสนคน รายข้อมูลอำเภอสุไหงโก-ลก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ตุลาคม พ.ศ.2566 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 191 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 247.41 ต่อประชากรแสนคน ข้อมูลตำบลสุไหงโก-ลก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 31 ตุลาคม พ.ศ.2566 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 86 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 213.99 ต่อประชากรแสนคน โดยเป็นเด็กนักเรียนโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จำนวน 28 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 69.67 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 0 ราย จากการลงสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในสถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก พบว่าร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย (Container Index (CI)) เท่ากับ 7.03 อยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหาจากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมของ ครู นักเรียน โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือการระบาดของโรคไข้เลือดออก ก่อนฤดูการระบาดของโรค เพื่อรณรงค์ให้ครูและนักเรียนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และลดความเสี่ยงปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายภายในโรงเรียนให้น้อยลง โดยอ้างอิงข้อมูลจากร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย (Container Index (CI)) ลดลงร้อยละ 50
    ตัวชี้วัด : จำนวนแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายภายในโรงเรียนลดลง โดยอ้างอิงข้อมูลจากร้อยละของภาชนะขังน้ำที่พบลูกน้ำยุงลาย (Container Index (CI)) ลดลงร้อยละ 50
    ขนาดปัญหา 7.03 เป้าหมาย 3.50
  • 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 90.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่นักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
    - ประชุมคณะทำงานและตัวแทนจากโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั้งหมด 14 โรง (โรงเรียนเทศบาล1-4,โรงเรียนบุญยลาภนฤมิตร,โรงเรียนบ้านสุชาดา,โรงเรียนผดุงวิทย์,โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก,โรงเรียนสุไหงโก-ลก,โรงเรียนอนุบาลเทศบาล3,ศพด.เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก,ศพด.วัดโก-ลกเทพวิมล,ศพด.มัสยิดอัลอามีน และ ศพด.มัสยิดอะห์มาดียะห์) เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
    - จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
    - ประสานโรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
    - จัดเตรียมเนื้อหาเอกสารการจัดอบรม และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม
    - จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
    - กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวการดูแลตนเอง การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก แก่ครู และเด็กนักเรียนในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก พร้อมประเมินความรู้ตัวเเทนนักเรียนก่อนและหลังการอบรม โดยให้ความรู้ในช่วงกิจกรรมหน้าเสาธงของโรงเรียน
    งบประมาณ ดังนี้
    - ค่าเอกสารและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการอบรม เป็นเงิน 1,000 บาท
    - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 1,200 บาท

    งบประมาณ 2,200.00 บาท
  • 2. กิจกรรม Big Cleaning Day ในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
    รายละเอียด

    กลุ่มเป้าหมาย
    - ตัวแทนครูและนักเรียนโรงเรียนละ 25 คน จำนวน 14 โรงเรียน (โรงเรียนเทศบาล1-4,โรงเรียนบุญยลาภนฤมิตร,โรงเรียนบ้านสุชาดา,โรงเรียนผดุงวิทย์,โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก,โรงเรียนสุไหงโก-ลก,โรงเรียนอนุบาลเทศบาล3,ศพด.เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก,ศพด.วัดโก-ลกเทพวิมล,ศพด.มัสยิดอัลอามีน และศพด.มัสยิดอะห์มาดียะห์)
    รวมทั้งสิ้น 350 คน
    รายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
    1. กิจกรรมรณรงค์ Big Cleaning Day ปราบลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ทั้ง 14 โรงเรียน (โรงเรียนเทศบาล1-4,โรงเรียนบุญยลาภนฤมิตร,โรงเรียนบ้านสุชาดา,โรงเรียนผดุงวิทย์,โรงเรียนบ้านสุไหงโก-ลก,โรงเรียนสุไหงโก-ลก,โรงเรียนอนุบาลเทศบาล3,ศพด.เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก,ศพด.วัดโก-ลกเทพวิมล,ศพด.มัสยิดอัลอามีน และศพด.มัสยิดอะห์มาดียะห์) เพื่อดำเนินการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายภายในบริเวณโรงเรียน
    2. ตัวเเทนนักเรียนชั้น ป.4 – ป.6 ร่วมกันรณรงค์เพื่อสำรวจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายบ้านของตนเองและบ้านใกล้เคียงอย่างน้อย 1 หลังคาเรือน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ระยะเวลา 1 เดือน รวม 4 ครั้ง เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายในชุมชน
    งบประมาณ ดังนี้
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 25 คน x 14 โรงเรียน x 30 บาท เป็นเงิน 10,500 บาท
    - ทรายอะเบท 3 ถัง x 5,000 บาท เป็นเงิน 15,000 บาท
    - สเปรย์กำจัดยุง 40 กระป๋อง x 70 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
    - โลชั่นทากันยุง 500 ซอง x 7 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
    - ถุงมือ 10 กล่อง x 250 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
    - ถุงขยะ 20 ห่อ x 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
    - ไฟฉาย 2 กระบอก x 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

    งบประมาณ 37,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

สถานศึกษาในเขตเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 39,500.00 บาท

หมายเหตุ : สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายกาาร

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายภายในโรงเรียนให้น้อยลง
  2. นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก มีความตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการดำเนินการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก รหัส กปท. L6961

อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 39,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................