กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลตะโละกาโปร์ ปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะโละกาโปร์
กลุ่มคน
นางนัสรีณี ศรีท่าด่าน
นางสาวบังอรเนาวบุตร
นางสาวตูแวสาลีฮ๊ะนิตะเงาะ
นางสาวเจะรอฮานีสาแม
นางสาวตูแวเยาะสาเระ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทยที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและมักจะระบาดในช่วงฤดูฝน การระบาดของโรคไข้เลือดมักขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้า อากาศและความพร้อมในการเตรียมการรับสถานการณ์ของโรค ซึ่งในปัจจุบันไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าแนวโน้มการะบาดของโรคจะเกิดขึ้นในปีใด จังหวัดปัตตานีถือเป็นนโยบายสำคัญอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอดที่จะลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาสาธารณสุขของจังหวัดปัตตานีอีกต่อไป โดยมุ่งเน้นความพร้อมในการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรค และดำเนินการระงับเหตุรำคาญและความชุกของชุมของยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่องในรูปแบบการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอยะหริ่ง เมื่อต้นเดือนตุลาคม 2566 ที่ผ่านมาอำเภอยะหริ่งได้เผชิญกับปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นจำนวนมาก ทั้งอำเภอมีจำนวนผู้ป่วยแล้ว 12 ราย อาจเป็นไปได้ว่าเป็นช่วงฤดูฝนทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลายได้เป็นอย่างดี ประกอบกับเป็นช่วงปิดเทอมของโรงเรียนต่างๆ ทำให้มีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ในส่วนของตำบลตะโละกาโปร์มีผู้ป่วยในเดือนนี้มาแล้ว 2 ราย ซึ่งถ้าดูแนวโน้มแล้วมีโอกาสที่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากว่ารอบๆตำบลตะโละกาโปร์ มีจำนวนผู้ป่วยเริ่มระบาดมากขึ้น เช่น ตำบลยามู หนองแรต และแหลมโพธิ์ ล้วนมีจำนวนผู้ป่วยเกิน 5 ราย ในช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา ดังนั้น ทางอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ เล็งเห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อให้การดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมีความยั่งยืน โดยสนับสนุนให้ชุมชนสามารถเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง ให้ชุมชนพัฒนาศักยภาพ มีความเข้มแข็ง สามารถวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ดำเนินการแก้ไขปัญและประเมินผลการดำเนินการได้ด้วยตนเอง รวมถึงสามารถการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคได้ระดับหนึ่ง แต่ในพื้นที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกสูง จำเป็นต้องมีมาตรการดำเนินการที่เข้มงวด เพื่อเร่งรัดการควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ โดยกำหนด กลยุทธ์ สร้างการมีส่วนร่วมในการดำเนินการลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและทำลายตัวเต็มวัย เพื่อตัดวงจรชีวิตพาหะนำโรคให้ลดลงมากที่สุด ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิ์ภาพการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในระดับพื้นที่ได้ดียิ่งขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อพัฒนาความพร้อมของระบบการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้
    ตัวชี้วัด : 1.กลุ่,เป้าหมายมีความรู้ ความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 80.00
  • 2. 2. เพื่อให้ประชาชนในเขตพื้นที่มีความรู้และเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 2.ค่า HI/CI ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน (HI ไม่เกินหรือเท่ากับ ร้อยละ10, CI เท่ากับร้อยละ 0)
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 50.00
  • 3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 3.จำนวนผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (2552-2566)
    ขนาดปัญหา 5.00 เป้าหมาย 50.00
  • 4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด
    ขนาดปัญหา 3.00 เป้าหมาย 0.00
  • 5. เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม
    ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(ร้อยละ)
    ขนาดปัญหา 40.00 เป้าหมาย 50.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมชี้แจงแนวทางในการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 65 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,950 บาท
    • ค่าวัสดุที่ใช้ในการอบรมฯ เป็นเงิน 3,250 บาท
    • ค่าไวนิล ขนาด 1.25 X 2.4 เมตร (ตร.เมตรละ 250 บาท) จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
      รวมเป็นเงิน 5,950 บาท
    งบประมาณ 5,950.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ จำนวน 2 รุ่น เป็นเงิน 3,000 บาท(รุ่นละ 50 คน รวมเป็น 100 คน)

    • ค่าไวนิล ขนาด 1.25 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน750 บาท

    รวเป็นเงิน 3750 บาท

    งบประมาณ 3,750.00 บาท
  • 3. รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวนหมู่ละ 100 คนๆละ 30 บาท จำนวน 5 หมู่ๆละ 1 ครั้ง เป็นเงิน 15,000 บาท
    • ป้ายรณรงค์ให้ความรู้ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 2 ผืนๆละ 750 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท รวมเป็นเงิน 16,500 บาท
    งบประมาณ 16,500.00 บาท
  • 4. ค่าวัสดุในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    รายละเอียด
    • ค่าสเปรย์ฉีดยุงไบก้อน ขนาด 600 มล. โหลละ 420 บาท X 15 โหล เป็นเงิน 6,300 บาท
    • ค่าทรายเคลือบสารทีมีฟอส1% ซอง50กรัม จำนวน 2 ถังบรรจุ 500 ซองถังละ 3000 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าน้ำยาเคมี ขวดละ 950 บาท จำนวน 10 ขวด เป็นเงิน 9500 บาท
    • ค่าน้ำมันดีเซล ลิตรละ 30 บาท จำนวน 100 ลิตร เป็นเงิน 3000 บาท

    รวมรวมเป็นเงิน 24,800 บาท

    งบประมาณ 24,800.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลตะโละกาโปร์

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 51,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชนมีความรู้ ความสามารถในการป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลตะโละกาโปร์

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ รหัส กปท. L8420

อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 51,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................