กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดตะโละ

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดตะโละ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาบัน

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดตะโละ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจำมัสยิดตะโละ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ทุกคนอยากมีสุขภาพ ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารที่ถุกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดีและนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ"สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์ และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆในวงจร
จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวันที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวันนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหาร ภาวะโภชนาการเกิน การขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมเลี้ยงดูไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยเด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้องจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางวภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาบันจะพบว่าช่วงปีงบประมาณ 2567 เด็กมีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 16 คน จากเด็กทั้งหมด 31 คิดเป็นร้อยละ 50.00
ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสาบัน อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อเด็กมีสุขภาพแข็งแรง มีการเจริญเติบโตของเสมอและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำเป็นโครงการประเมินและแก้ไขปัญหาโภชนาการในเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กและเด็กเล็กในศูนย์พัฒนา

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 85 ของเด็กเล็กมีภาวะโภชนาการดีขึ้น

85.00
2 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแลแก้ไข

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแลและแก้ไข

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 16
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อย กิจกรรมประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย กิจกรรมประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล้ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารเช้า จำนวน 16 คนๆละ 20 บาท จำนวน 224 วัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร้อยละ 80 ของเด็กที่มีปัญหาทางภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้รับการดูแลและแก้ไข

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
71680.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามและปรมาณผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามและปรมาณผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 71,680.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีภาวะโภชนาการปกติ
2.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล้กได้รับการดูแลและแก้ไขภาวะโภชนาการเกิน(อ้วน)และทุพโภชนาการ (ผอม)


>