กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โตรงการส่งเสริมหนูน้อยปลูกผักปลอดสารพิษในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โต๊ะเด็ง

กองการศึกษาอบต.โต๊ะเด็ง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอบาตู, ศุนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโผลง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กปฐมวัย ถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและมีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต แต่ในปัจจุบันเด็กปฐมวัยไม่ค่อยชอบทานผัก หรือถ้าหากได้ทานผัก ผักส่วนใหญ่ผู้ปกครองจะซื้อมาจากตลาด ทำให้เด็กอยู่ในภาวะความเสี่ยงทางด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารผัก ที่ไม่ปลอดภัยไม่ปลอดสารพิษ ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดโรคชนิดต่างๆ
องค์การบริหารส่วนตำบลโต๊ะเด็งได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยรักสุขภาพกินผักปลอดสารพิษเป็นการใช้วิธีการปลูกฝังนิสัยรักการกินผัก โดยเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการปลูก ให้เด็กได้มีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติจริง แล้วนำผักเด็กปลูกเองมาทำอาหารให้เด็กรับประทานร่วมกันและก็มีส่วนร่วมในการปรุงอาหารด้วย จะทำให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง และส่งผลให้เด็กมีความรักการกินผักมากยิ่งขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กได้รู้จักประโยชน์ของพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ

 

0.00
2 2. เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการขั้นตอนในการปลูกผักปลอดสารพิษและลงมือปฏิบัติ

 

0.00
3 3. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคผักของเด็กภายในศูนย์เด็กเล็ก

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้คุณค่า และประโยชน์ของการทานผักและวิธีการเลือก รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ ค่าป้ายโครงการ= 500 บาท ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอบาตู ค่าป้ายโครงการ= 500 บาท ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโผลง รวมเป็นเงิน= 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 สาธิตและลงมือปฏิบัติทำแปลงปลูกผัก และจัดเตรียมเมล็ดพันธ์ ผักต่างๆ

ชื่อกิจกรรม
สาธิตและลงมือปฏิบัติทำแปลงปลูกผัก และจัดเตรียมเมล็ดพันธ์ ผักต่างๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวัสดุอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์                     = 4,880 บาท ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไอบาตู
ค่าวัสดุอุปกรณ์และเมล็ดพันธ์                     = 2,530 บาท ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโผลง
(รายละเอียดตามเอกสารแนบท้าย)
รวมเป็นเงิน                                           = 7,410 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7410.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,410.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กได้รู้จักประโยชน์ของการทานผัก และร่วมกิจกรรมการปลูกและดูแลผัก
2. เด็กรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ
3. เด็กได้รับประทานผักที่ปลอดภัย มีประโยชน์และได้รับอาหารครบทั้ง 5 หมู่


>