กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.นักวิทย์.รพ.สต.บ้านขัน ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

ชมรม อสม. บ้านขัน ตำบลชุมพล

1.นางพรรณทิพา ดำแก้ว
2.นางวิไลลักษณ์สมเกื้อ
3.นางศิรินมรักษ์
4.นางฤทัยปรียา ด้วงเอียด
5.น.ส.สุพัฒ สุกทอง

หมู่ที่ 2,4,8,9,12,13,14 ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันประชาชนให้ความสนใจกับการดูแลสุขภาพมากขึ้นผลิตภัณฑ์สุขภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการดำรงชีวิต แต่จากการที่ อสม.ได้เก็บตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่นเครื่องสำอาง ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในชุมชนพบว่าผลิตภัณฑ์บางชนิดไม่แสดงหรือแสดงฉลากไม่

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหารและยา

มีเครือข่ายการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหารและยา

3.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหาร ยา และยาฆ่าแมลงในเลือดผู้บริโภค

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหาร ยา และยาฆ่าแมลงในเลือดผู้บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมแกนนำ อสม.จำนวน 35 คน
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 35 คนๆละ 1 มื้อๆละ 80 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
3.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
4.ชุดทดสอบไฮโดรควิโนนในเครื่องสำอาง จำนวน 2 ชุดๆละ 680 บาท เป็นเงิน 1,360 บาท
5.ชุดทดสอบกรดเรทิโนอิกในเครื่องสำอาง จำนวน 2 ชุดๆละ 980 บาท เป็นเงิน 1,960 บาท
6.ชุดทดสอบสารปรอทในเครื่องสำอาง จำนวน 2 ชุดๆละ 680 บาท เป็นเงิน 1,360 บาท
7.ชุดทดสอบสเตรียรอยด์ในยาแผนโบราณ จำนวน 1 ชุดๆละ 1,600 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
8.ชุดตรวจหายาฆ่าแมลงในเลือดเกษตรกรจำนวน 3ชุดๆละ 1,650 บาท เป็นเงิน 4,950 บาท
9.ชุดทดสอบสเตรียรอยด์ ในเครื่องสำอาง จำนวน 2 ชุดๆละ 1,100 บาท เป็นเงิน 2,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีเครือข่ายการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหารและยา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19780.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การล้างผัก ผลไม้ และตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มผู้บริโภค

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การล้างผัก ผลไม้ และตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มผู้บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้การล้างผัก ผลไม้ และตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดกลุ่มผู้บริโภค
โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 210 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท
2.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 7 ครั้งๆละ2 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มผู้บริโภคมีสารเคมีตกค้างในเลือดอยู่ในระดับปลอดภัย ร้อยละ 80

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 33,430.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีการเฝ้าระวังอันตรายจากการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง อาหารและยา


>