กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนน่ารัก ปลูกผักกินเอง หมู่ที่ 14 ตำบลชุมพล

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านขัน

1.นางพรรณทิพา ดำแก้ว
2.นางสมจริงแก้วขุนทอง
3.นางชัด ชูอินทร์
4.นางสุคนธ์ จันทรมิต
5.นางปราณีหนูอินทร์

หมู่ที่ 14 ตำบลชุมพล อำเภอศรีนครินทร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล ต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี โดยเฉพาะผักและผลไม้ เพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีสภาพภายนอกสวยงาม เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค สารเคมีที่เ

 

30.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ อสม./แกนนำ/ผู้สนใจมีความรู้เรื่องการปลูกผักที่มีคุณภาพปราศจากสารเคมีตกค้าง ชุมชนมีอาหารที่ปลอดภัย

ตรวจสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดของผู้บริโภค ระดับไม่ปลอดภัย เท่ากับ ๐

30.00 50.00
2 เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารให้แก่ชุมชน

มีแปลงผักรวม ผักสวนครัวปลอดสารพิษ ของหมู่ที่ 14 จำนวน 1 แปลง

30.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 130
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรม อสม./แกนนำ/ผู้สนใจ เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำน้ำหมักชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
อบรม อสม./แกนนำ/ผู้สนใจ เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษและการทำน้ำหมักชีวภาพไว้ใช้ในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 35 คนๆละ 1 มื้อๆละ 80 บาท เป็นเงิน 2,800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 35 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
3.ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,000 บาท
4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ ทำน้ำหมัก เป็นเงิน 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีครัวเรือนที่ปลูกผักปลอดสารพิษ ไวักินเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12550.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำแปลงผักปลอดสารพิษ แปลงผักรวมสาธิตในชุมชนจำนวน 1 แปลง พื้นที่ 1 ไร่

ชื่อกิจกรรม
จัดทำแปลงผักปลอดสารพิษ แปลงผักรวมสาธิตในชุมชนจำนวน 1 แปลง พื้นที่ 1 ไร่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดทำแปลงผักปลอดสารพิษ แปลงผักรวมสาธิตในชุมชนจำนวน 1 แปลง พื้นที่ 1 ไร่
โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
ค่าเตรียมแปลงปลูก,ค่าพันธ์ุผัก,ค่าปุ๋ยหมักชีวภาพ,ค่าติดตั้งระบบน้ำเป็นเงิน 8,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีแปลงผักปลอดสารพิษ สำหรับคนในชุมชน จำนวน 1 แปลง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อสม./แกนนำ/ผู้สนใจมีความรู้เรื่องการปลูกผักที่มีคุณภาพปราศจากสารเคมีตกค้าง ชุมชนมีอาหารที่ปลอดภัย
2. มีความมั่นคงทางอาหารให้แก่ชุมชน


>