กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรักษ์สุขภาพกับคลินิกใกล้บ้าน ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลร่มเมือง

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข รพ.สต.บ้านลำ

1.นางชนะกานต์ นิโรธสัญญา
2.นายภิญโญ สว่างรัตน์
3.นางสาวพัชรีสุวรรณลิขิต
4.นางพิมพ์ญาดาสอนทอง
5.นางสมใจบัวคลี่
6.นางจริยาเกื้อสุข

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ประชาสัมพันธ์ อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในวันที่รับยาโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
1.ประชาสัมพันธ์ อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในวันที่รับยาโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 กิจกรรมย่อย. - กิจกรรมรับยาในคลินิกโรคเรื้อรัง รพ.สต.บ้านลำ  เปิดให้บริการคลินิกจ่ายยาโรคเรื้อรัง ทุกวันพฤหัสที่๒ของทุกเดือน อสม.ดูแลให้ผู้ป่วยชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิตและเจาะเลือดตรวจน้ำตาลในเลือด   ลงบันทึกในแฟ้มประวัติและสมุดประจำตัวโรคเรื้อรังเครือข่ายโรงพยาบาลพัทลุง   - มีบริการตรวจรักษาโดยแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว พยาบาลวิชาชีพ และจ่ายยาโดยเภสัชกรเครือข่าย รพ.พัทลุง   - มีการติดตามผู้ป่วยที่ขาดนัดในแต่ละเดือน โดยเจ้าหน้าที่และอสม.   - ผู้ป่วยได้รับการตรวจเลือดประจำปี   - ตรวจตา เอกซเรย์ปอด  ตรวจสุขภาพช่องปาก และตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง

งบประมาณ -ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง         ๒.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น         ๓.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะสุขภาพ เป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ ๓

ชื่อกิจกรรม
2.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีภาวะสุขภาพ เป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ ๓
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๒.๑ กิจกรรมย่อย -กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง งบประมาณ ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x    ๖๐๐ บาท x ๕ ครั้ง เป็นเงิน        ๙,๐๐๐  บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน 1๐๓ คนๆละ 2 ครั้งๆละ  1 มื้อ x ๒๕ บาท เป็นเงิน  ๕,๑๕๐ บาท -กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงและผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมระยะที่ ๓ งบประมาณ ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง x    ๖๐๐ บาท x ๕  ครั้ง เป็นเงิน     ๙,๐๐๐ บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
จำนวน ๘๒ คนๆละ 2 ครั้งๆละ 1 มื้อ x ๒๕ บาท เป็นเงิน  ๔,๑00 บาท -สนับสนุนไข่ไก่ให้ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อมระยะ3 งบประมาณ -ค่าไข่ไก่ สำหรับผู้ที่มีภาวะไตเสื่อม๒๐ คนๆละ ๒ แผงๆละ ๑๑๐ บาท เป็นเงิน ๔,๔๐๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง         ๒.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น         ๓.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31650.00

กิจกรรมที่ 3 ๓.กิจกรรมการวัดความดันโลหิตซ้ำในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ3 ให้สามารถดูแลไตให้มีการทำงานที่ดีขึ้น โดยการเจาะเลือดซ้ำ

ชื่อกิจกรรม
๓.กิจกรรมการวัดความดันโลหิตซ้ำในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ3 ให้สามารถดูแลไตให้มีการทำงานที่ดีขึ้น โดยการเจาะเลือดซ้ำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

3.1 กิจกรรมย่อย            - ติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ              ตามเกณฑ์มาตรฐาน 3.2 กิจกรรมย่อย            - ติดตามเจาะหาค่าน้ำตาลในเลือด              ซ้ำตามเกณฑ์มาตรฐาน ๓.๓ กิจกรรมย่อย            -ติดตามค่าการทำงานของไต โดยการเจาะเลือดซ้ำ 3.4 กิจกรรมย่อย           -ติดตามค่าไขมันในเลือดซ้ำ
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง ๒.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น ๓.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ๔. ติดตามเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้ปกติได้ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ3 มีค่าการทำงานของไตลดลง

ชื่อกิจกรรม
๔. ติดตามเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้ปกติได้ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ3 มีค่าการทำงานของไตลดลง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๔. ติดตามเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตให้ปกติได้ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีภาวะไตเสื่อมระยะ3 มีค่าการทำงานของไตลดลง งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน  โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง         ๒.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น         ๓.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้มีความดันโลหิตที่ปกติ ค่าน้ำตาลในเลือดปกติ เพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดสูง
๒.ผู้ป่วยที่มีภาวะไตเสื่อม สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทำให้การทำงานของไตดีขึ้น
๓.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังรับยาต่อเนื่อง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน


>