กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ขยับกาย สบายชีวี ห่างไกลโรค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

องค์กรประชาชน

1. นางสาวนูรซาฮีดะห์ เจะกาเดร์
2. นางสาวนุสนี หะยีสาเมาะ
3. นางเจ๊ะซง เจ๊ะบือราเฮง
4. นางสาวฟาดีลาห์ แวกูโน
5. นางสาวเจ๊ะอำซอ มาสอ

หมู่ที่ 2 ตำบลบางตาวาอำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

7.00

เนื่องจากในปัจจุบันคนส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักตัวมาก ทำให้ BMI เกินกว่าปกติ อยู่ในเกณฑ์เริ่มอ้วน ทั้งนี้เกิดมากจากหลายสาเหตุ เช่น พันธุกรรม สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับการบริโภค ภาวะผิดปกติในร่างกาย หรือโรคบางชนิด Hypothroidism, Cushing Syndrome ผลจากการใช้ยาบางประเภท ก็มีผลข้างเคียงให้อ้วนได้ เช่น ยาต้านการซึมเศร้าบ้างตัว หรือยาต้านรักษาโรคจิตบ้างตัว หรือพวก Corticostsroids (สเตียรอย) Cyproheptadine เป็นต้น เพราะเหตุปัจจัยพวกนี้จึงทำให้มีผู้ประสบปัญหาอ้วนเป็นจำนวนมาก ซึ่งบางรายรับประทานยาลดน้ำหนัก ที่ก่อให้เกิดอันตราย มีผลข้างเคียงทำให้เกิดโรคอื่นๆตามมา และไม่รู้จักวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องจนทำให้เกิดผลเสียต่อบุคคลนั้น
โครงการขยับกาย สบายชีวี ห่างไกลโรค เป็นโครงการที่ให้ความรู้ทักษะและสร้างเจตคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกาย การเลือกรับประทาน และการเปลี่ยนแปลงการบริโภคอาหาร เพื่อลดปัญหาภาวะโภชนาการเกิน ของประชาชนที่มี BMI เกิน ในตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ

อัตราผู้ป่วยรายใหม่โรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง

0.00
2 เพื่อเสริมภูมิคุ้มกันโรคก่อนที่จะไปบำบัด รักษาโรคให้แก่ประชาชน

ประชาชนลดการใช้ยา ลดปัญหาการทำงานของตับ

0.00
3 เพื่อให้ชาวบ้านที่ร่วมกิจกรรมมีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 70 โดยดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.5-24.9 และรอบเอวผู้ชายไม่เกิน 90 ซม. รอบเอวผู้หญิงไม่เกิน 80 ซม

 

0.00

ข้อที่ 1. เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและจิตใจที่ดี ลดภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
ข้อที่ 2. เพื่อเสริมภูมิคุ้มกันโรคก่อนที่จะไปบำบัด รักษาโรคให้แก่ประชาชน
ข้อที่ 3. เพื่อให้ชาวบ้านที่ร่วมกิจกรรมมีค่าดัชนีมวลกาย

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2017

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ประชุมชี้แจ้ง ออกกำลังกาย

ชื่อกิจกรรม
1. ประชุมชี้แจ้ง ออกกำลังกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 70 คน =3,500 บาท ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆละ 25 บาท x70 คน =3,500 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์การดำเนินงาน 4,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจในการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น และรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรู้จักการเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
4. ผู้เข้าร่วมมี BMI ที่ลดลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ


>