กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าชิง

-

ตำบลป่าชิง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

10.00

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านฉลากผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง รวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้าน ยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน มาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภค อาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว
การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันมีการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยรวมไปถึงการจัดหาและเลือกที่จะรับประทานอาหารจากอดีตที่มีการจัดหาวัสดุอาหารมาดำเนินการปรุงการประกอบอาหารเองที่บ้านหรือในครัวเรือนอาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตการบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บโดยมีเชื้อโรคและสารปนเปื้อนหลายชนิดที่เป็นอันตรายถึงชีวิตหลักสำคัญในการเลือกรับประทานอาหารนอกเหนือจากรสชาติอาหารแล้วสิ่งที่ต้องคำนึงและพิจารณาควบคู่ไปด้วยคือคุณค่าตามหลักโภชนาการคุณภาพความสะอาดและปราศจากสารปนเปื้อนการบริโภคอาหารเพื่อให้ได้อาหารที่สะอาดปลอดภัยมีคุณค่าตามหลักโภชนาการและปราศจากสารปนเปื้อนนั้นจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารทุกกระบวนการในปัจจุบันมีการจัดตั้งร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารไว้บริการอาหารปรุงสำเร็จแก่ประชาชนสะดวกต่อการเลือกซื้อมาเพื่อการบริโภคทั้งในครัวเรือนหรือการจัดเลี้ยงอาหารในรูปแบบต่างๆมากมายดังนั้นการควบคุมดูแลให้การประกอบกิจการการจัดบริการอาหารโดยสถานประกอบการด้านอาหารเป็นไปอย่างเหมาะสมเน้นความสะอาดและปลอดภัยแก่ผู้บริโภคจึงเป็นงานสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อให้ผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักถึงความสำคัญและให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและพัฒนายกระดับสถานประกอบการให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานด้านสุขาภิบาลอาหารกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขฉะนั้นเพื่อให้ประชาชนสามารถจัดหาอาหารที่สะอาดปลอดภัยมาบริโภคได้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงจำเป็นต้องมีระบบการดูแลควบคุมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยของอาหารและดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทั่วไปสามารถรับทราบข้อมูลและเข้าถึงการบริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัยได้
ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลป่าชิง จึงมีแผนที่จะให้มีโครงการคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนวัตถุประสงค์เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ ความปลอดภัยด้านอาหาร ในสถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/ร้านชำ/โรงเรียน

 

40.00 50.00
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค

 

10.00 30.00
3 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

10.00 8.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 141
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ประชุมคณะทำงานและผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

ชื่อกิจกรรม
อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภค

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คนๆละ 1 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน2,250 บาท

    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 75 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 5,250 บาท

    • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชม ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9900.00

กิจกรรมที่ 3 สำรวจร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
สำรวจร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สำรวจร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมอบรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านขายของชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 66 คนๆละ 1 มื้อๆละ 30 บาทเป็นเงิน 1,980 บาท

  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 66 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาทเป็นเงิน 4,620 บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 4 ชม ๆละ 600 บาทเป็นเงิน2,400บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9000.00

กิจกรรมที่ 5 ตรวจประเมินร้านชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/โรงอาหาร/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ชื่อกิจกรรม
ตรวจประเมินร้านชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/โรงอาหาร/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจประเมินร้านชำ/สถานที่จำหน่ายอาหาร/แผงลอยจำหน่ายอาหารสด/โรงอาหารในโรงเรียน/โรงอาหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

1.ค่าสารตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดเป็นเงิน 3,200บาท

  • ชุดตรวจบอแรกซ์ จำนวน 1 ชุด ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท

  • ชุดตรวจสารกันรา จำนวน 1 ชุด ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท

  • ชุดตรวจสารฟอกขาว จำนวน 1 ชุด ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 400 บาท

  • ชุดตรวจฟอร์มาลีน จำนวน 1 ชุด ๆละ 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท

2.ค่าชุดทดสอบสารในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง เป็นเงิน 4,160 บาท

  • ชุดตรวจสเตียรอยด์ จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,100 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท

  • ชุดตรวจปรอท จำนวน 1 ชุด ๆละ 980 บาท เป็นเงิน 980 บาท

  • ชุดตรวจกรดวิตามินเอ จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,100 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท

  • ชุดตรวจไฮโดรควิโนน จำนวน 1 ชุด ๆละ 980 บาท เป็นเงิน 980 บาท

3.ค่าชุดทดสอบไอโอดีนในเกลือเสริมไอโอดีน ( I -Kit) จำนวน 1 ชุด ๆละ 250 บาท เป็นเงิน 250 บาท

4.ค่าชุดอุปกรณ์ทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2)จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,800 บาทเป็นเงิน 1,800 บาท

5.ค่าชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2)จำนวน 5 ลัง ๆละ 1,200 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

6.ชุดตรวจโคลิฟอร์มน้ำ และ น้ำแข็ง (อ11) จำนวน 1 ชุด ๆละ 1,800 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
7.ค่าป้ายร้านชำปลอดภัย ขนาด 30 X 30 ซม.จำนวน 45 ป้าย ป้ายละ 320 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท
8.ค่าป้าย SAN 30 x 30 ซม.จำนวน 25 ป้าย ป้ายละ 320 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
39610.00

กิจกรรมที่ 6 ตรวจเฝ้าระวังสถานประกอบการ GMP และส่งเสริมสินค้าในชุมชนที่ไม่ผ่าน อย.

ชื่อกิจกรรม
ตรวจเฝ้าระวังสถานประกอบการ GMP และส่งเสริมสินค้าในชุมชนที่ไม่ผ่าน อย.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจเฝ้าระวังสถานประกอบการ GMP และส่งเสริมสินค้าในชุมชนที่ไม่ผ่าน อย.

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดตั้งศูนย์แจ้งเตือนภัยเฝ้าระวังและรับเรื่องร้องเรียนปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 58,510.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ 90 ของจำนวนอาสาสมัครคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ (คน) ผ่านการอบรมและสามารถตรวจร้านได้
2. ร้อยละ 80 ของร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว
3. ร้อยละ 80 แผงลอยจำหน่ายอาหารสดผ่านเกณฑ์การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
4. สถานที่จำหน่ายอาหารได้รับการตรวจมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร


>