กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพเกษตรกรผู้ผลิตพืชผักพื้นบ้าน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง

ชมรม อสม. รพ.สต.บ้านตรับ

1 นางสุกัญญา เอียดวารี โทร084-0686597
2 นางหรอปิหย๊ะ ศิริภานนท์ โทร097-2728510
3 นางสายพิน จันทองสุกโทร066-0035314
4 นางสุรินทร์ไชยรัตน์โทร089-8783399
5 นางพยอม จันทรักษ์ โทร080-0367501

หมู่ที่2, 3, 4, 9 และ 11 ต.จะโหนง อ.จะนะ จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

20.00
2 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

8.00
3 ร้อยละของประชากรที่มีความเสี่ยงของสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด

 

15.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มเกษตรกรให้ได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด

ร้อยละ 50ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด

30.00 50.00
2 เพื่อเพิ่มให้เกษตรกรมีความตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง ลด ละ เลิก การใช้สารเคมีอันตรายและหันกลับมาใช้วัสดุจากธรรมชาติ

ร้อยละ 70 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง

40.00 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
เกษตรกรที่สัมผัสกับการใช้สารเคมี 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเสริมทักษะอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขในการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเสริมทักษะอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขในการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเสริมทักษะอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขในการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร 13.00-13.30 ลงทะเบียน 13.30-15.30 ฝึกการตรวจเลือดปลายนิ้วและการวิเคราะห์ผล  15.30-15.40 พัก  15.40-16.00 สรุปประเด็นปัญหา/อุปสรรค
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับ อสม. และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 1 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับ อสม. และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 15 คนๆละ 1 ชุด ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท 2.ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1200 บาท 3.ค่าเอกสารการอบรมชุดละ 30 บาท จำนวน 15 ชุด เป็นเงิน 450

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มีนาคม 2567 ถึง 8 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจปัญหา และสามารถฝึกทักษะ และแปรผลการตรวจได้อย่างถูกต้อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2025.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายและตรวจหาปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด 08.30-09.00 ลงทะเบียน สถานการณ์และประชุมเสริมทักษะการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัยสมุนไพรล้างสารพิษ 10.00-10.15พัก 10.15-12.00 เจาะเลือดจรวจสารเคมี 12.00-13.00 พักเที่ยง 13.00-14.00 ทดสอบสารตัวอย่าง วิเคราะห์ผล สรุปผล 1. ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 300 บาท 2. ค่าวิทยากรจำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน 1200บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้เกี่ยวข้องจำนวน 60 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1500 บาท 4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม วิทยากร และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 60 คนๆละ 65 บาท เป็นเงิน 3900บาท หลอด 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์การตรวจ (1.ค่ากระดาษตรวจโคลีนเอสเตอร์เรส จำนวน 2 กล่องๆละ 950 บาท เป็นเงิน1900 บาท , 2. ค่าเข็มเจาะ2 กล่องๆละ 750 บาท เป็นเงิน 1500 บาท ,3. ค่าเวชภัณฑ์ในการคัดกรอง เช่น สำลีแอลกอฮอล์ แผ่นสไสด์ หลอดดูดเลือด เป็นเงิน 1000 บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 4400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 เมษายน 2567 ถึง 5 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดและได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง ลดภาวะการเกิดอันตรายจากสารพิษตกค้างในร่างกาย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11300.00

กิจกรรมที่ 3 ตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างซ้ำภายหลังปรับพฤติกรรมครบ 1 เดือน

ชื่อกิจกรรม
ตรวจเลือดหาสารเคมีตกค้างซ้ำภายหลังปรับพฤติกรรมครบ 1 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้าง กลุ่มเสี่ยงภายหลังครบ 1 เดือน 13.00-13.30 ลงทะเบียน 13.30-14.30 เจาะเลือดตรวจกลุ่มเสี่ยงแนะนำความรู้รายบุคคล14.30-14.45 พัก14.45-15.30วิเคราะห์และสรุปผล
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเสี่ยงและทีมงานตรวจคัดกรองจำนวน 30 คนๆละ 25บาทเป็นเงิน750บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม จนส่งผลให้ปริมาณสารเคมีที่ตกค้างในกระแสเลือดมีปริมาณที่เหมาะสม ไม่ก่อผลเสียต่อสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล

ชื่อกิจกรรม
ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมทีมงาน สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรค แจ้งผลการดำเนินงานในที่ประชุม อสม./ ผู้นำชุมชนค่าจัดทำเอกสารรูปเล่ม เป็นเงิน 500บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
28 สิงหาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานสรุปผลที่สามารถนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการวางแผนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและการเฝ้าระวังสุขภาพของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,575.00 บาท

หมายเหตุ :
***ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้***

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1 เกษตรกรที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้รับการตรวจคัดกรอง ได้รับคำแนะนำเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งรักษาต่ออย่างทันท่วงที
2 เกษตรกรที่มีภาวะเสี่ยงต่อสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในระดับที่เสี่ยง มีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากสารเคมีมากขึ้น


>