กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว

สาธารสุขอำเภอระโนด

ตำบลบ้านขาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

รัฐบาลให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดมาอย่างต่อเนื่องตามแผนงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด โดยการนำผู้เสพ เข้าสู้กระบวนการบำบัดรักษาในระบบที่เหมาะสม โดยผ่านกระบวนการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าบำบัดรักษาตามระดับความรุนแรงของการใช้ยาเสพติด พร้อมทั้งมีการติดตามดูแลช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดรักษาได้กลับได้กลับไปใช้ชีวิตในสังคมอย่างปกติสุข เน้นการมีส่วนของชุมชนในการบำบัด (CBTx)ร่วมกับภาคีเครือข่าย และการดำเนินการลดอันตรายจากยาเสพติด (Harmฯ) จากสถิติการจับกุมคดีเสพติดในพื้นที่อำเภอระโนด ยังมีการจับกุมคดียาเสพติดสูงทุกปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งในปี 2565 พบ 313 คดี และในปี 2566 พบ 293 คดี จากสถิติการจับกุมคดียาเสพติของระโนด และผู้ป่วยจิตเวชจากยาเสพติดของอำเภอระโนดปี 2566 จำนวน 195 ราย ตามรายละเอียดรายตำบล ดังนี้ ระโนด 41 ราย, ท่าบอน 28 ราย บ้านขาว 21 ราย, ปากแตระ 20 ราย, บ่อตรุ 17 ราย, ตะเตรียะ 11 ราย, พังยาง 10 รายม วัดสน 9 ราย, บ้านใหม่ 7 ราย, แดนสงวน 6 ราย และคลองแดน 5 ราย ประกอบกับข้อมูลจากศูนย์ฟื้นฟู พบว่าอำเภอระโนดในปี พ.ศ.2566 ได้นำผู้ใช้ ผู้เสพยาเสพติดมาเข้าศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดทางสังคมทั้งหมด 75 ราย ดังนี้ ระโนด 22 ราย ,ระวะ 22 ราย, ปากแตระ 21 ราย, ท่าบอน 20 ราย, วัดสน 11 ราย, พังยาง 9 ราย, บ่อตรุ 9 ราย, คลองแดน 7 ราย, บ้านขาว 6 ราย, บ้านใหม่ 4 ราย, แดนสงวน 3 ราย และตะเครียะ 3 ราย จึงทำให้ทางคณะกรรมการและผู้นำชุมชน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงเขียนโครงการชุมชนบำบัดยาเสพติด ปี 2567 (CBTx) อำเภอระโนดขึ้น โดยขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น เทศบาล/อบต.ทุกแห่ง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาแกนนำในชุมชนให้มีความเข้มแข็งสามารถแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในทุกตำบลอำเภอระโนด โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTxX
  • จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
0.00
2 เพื่อศึกษากลุ่มตัวอย่างที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มาพัฒนาศักยภาพชุมชน
  • ร้อยละของผู้ที่คงอยู่ตลอดโครงการ
0.00
3 เพื่อให้ผู้เสพ ผู้ติดสารเสพติดได้รับการบำบัดรักษา ฟื้นฟู และดูแลช่วยเหลือภายใต้การมีส่วมร่วมของชุมชน
  • ร้อยละของผู้ที่สามารถเลิกเสพยาเสพติดในระยะบำบัด และระยะติดตาม
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 2 ทำเวที MOU และประกาศเจตนารมณ์อย่างบูรณาการ พร้อมประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด

ชื่อกิจกรรม
ทำเวที MOU และประกาศเจตนารมณ์อย่างบูรณาการ พร้อมประชาสัมพันธ์ต่อต้านยาเสพติด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3250.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมเวทีประชาคม ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต และจิตเวช กำหนดแผนและแนวทางในการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเวทีประชาคม ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต และจิตเวช กำหนดแผนและแนวทางในการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16600.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด โดยเครือข่ายจิตเวช

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้ความรู้ พร้อมประชาสัมพันธ์ แก่ประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย เรื่องพิษภัยจากยาเสพติด โดยเครือข่ายจิตเวช
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7350.00

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมศึกษากลุ่มตัวอย่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อป้องกันยาเสพติดในชุมชน จากผู้ที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมศึกษากลุ่มตัวอย่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อป้องกันยาเสพติดในชุมชน จากผู้ที่เคยผ่านการเข้าค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.มีการแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดในหมู่บ้านทุ่งสงวน โดยชุมชนมีส่วนร่วม (CBTx)
2.ผู้เสพและผู้ติดสารเสพติดในชุมชน ได้รับการจำแนกคัดกรอง และนำเข้าสู่การบำบัดรักษา ฟื้นฟู รับ-ส่งต่อ และดูแลช่วยเหลืออย่างมีคุณภาพ
3.ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง มีระบบการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง


>