กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย หมู่ที่ 3,5,6 และหมู่ที่ 7 ตำบลช้างเผือก ประจำปีงบประมาณ 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย หมู่ที่ 3,5,6 และหมู่ที่ 7 ตำบลช้างเผือก ประจำปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอร์ซือเร๊ะ

หมู่ที่ 3,5,6 และหมู่ที่ 7 ตำบลช้างเผือก ประจำปีงบประมาณ 2567

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

4.00
2 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานสามารถควบคุมความดันและเบาหวาน

 

5.00

จากข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขไทยเปิดเผยว่า คนไทยป่วยด้วย 5 โรคไม่ติดต่อเรื้อรังอันตราย เพิ่มขึ้นนาทีละ 1 คน โดยในปี 2561 พบผู้ป่วยสะสมจำนวนกว่า 2 ล้านคนและคาดว่ายังมีผู้ป่วยซ่อนเร้นอีกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะกลุ่มคนที่อายุต่ำกว่า 40 ปีที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ หากพบว่าความดันโลหิตสูงจะหมายถึงว่าไตเริ่ม เสื่อมและทำให้อัตราตายจากโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น การทำงานของไตเสื่อมเร็วขึ้น 2-3 เท่า การ เสื่อมของประสาทตาเพิ่มมากขึ้น
ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการคุมความดันโลหิตสูงให้ดี ก็จะสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนที่ เกิดจากโรคเบาหวานและความดัน ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง โรคไต โรคจอประสาทตา เสื่อม ได้อีกด้วย จากสถิติ ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน และความดันของหน่วยงาน รพ.สต.บ้านไอร์ซือเร๊ะ 3 ปีย้อนหลัง พบว่า 2564 2566 มีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ และจากการศึกษาวิถีชุมชน พบว่า เป็นประชาชนกลุ่ม วัยทำงาน มักชอบรับประทานอาหารแบบเร่งรีบ ง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก และไม่ตระหนักถึงประโยชน์และโทษของอาหารที่ ตนได้รับจึงไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินในส่วนนี้ได้ จากการศึกษาพบว่า ปัจจุบันศาสตร์การแพทย์แผนไทยเข้ามามีส่วนในการช่วยป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อย่างกว้างขวาง และได้ผลอย่างเห็นได้ชัด แพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านไอร์ซือเร๊ะ จึงได้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันโรคดังกล่าวในกลุ่มเสี่ยง จึงได้จัดทำโครงการ การป้องกัน และควบคุมโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเสี่ยง ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยขึ้น เพื่อช่วยลดการใช้ ยาแผนปัจจุบันลดค่าใช้จ่ายเรื่องยาที่เพิ่มขึ้นของหน่วยงานลดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่เกิดจากโรคเบาหวาน ความดันๆ ให้ยั่งยืน และคงอยู่กับประชาชนบ้านไอร์ซือเร๊ะ ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด และระดับความดันโลหิตได้ในเกณฑ์ปกติ

หลังการเข้าร่วมโครงการผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด และระดับความดันโลหิตได้

5.00 74.00
2 เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถนำทฤษฎีการแพทย์แผนไทยนำมาใช้ในการดูแลตนเองได้

ผู้ป่วยสามารถนำทฤษฎีการแพทย์แผนไทยนำมาใช้ในการดูแลตนเอง

5.00 74.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 74
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/03/2024

กำหนดเสร็จ 19/03/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมประชุมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 กิจกรรมประชุมให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
                    จำนวน .......... 10,490....................... บาท  รายละเอียด ดังนี้      - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 20 บาท x 74 คน    เป็นเงิน  ......2,960.............บาท      - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 45 บาท x 74 คน      เป็นเงิน  ......3,330............บาท      - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ  600  บาท x 6 ชั่วโมง    เป็นเงิน  ......3,600............บาท      - ค่าไวนิล ขนาด 1 x 2 เมตร              เป็นเงิน  .........600............บาท      ระยะเวลาดำเนินงาน  วันที่  18  มีนาคม  2567

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มีนาคม 2567 ถึง 18 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด และระดับความดันโลหิตได้ในเกณฑ์ปกติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10490.00

กิจกรรมที่ 2 2 กิจกรรมแช่เท้าด้วยสมุนไพรสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
2 กิจกรรมแช่เท้าด้วยสมุนไพรสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2 กิจกรรมแช่เท้าด้วยสมุนไพรสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน   
                      จำนวน ...........2,480..................... บาท  รายละเอียด ดังนี้             - ค่ากะละมัง 7 ใบ x 50   บาท            เป็นเงิน  ........350.............บาท             - ไพล 4 กิโลกรัม  x 150  บาท                เป็นเงิน  ........600.............บาท             - ตะไคร้ 4 กิโลกรัม x 70  บาท                เป็นเงิน  ........280.............บาท


  • ขิง  4 กิโลกรัม x  80  บาท                เป็นเงิน  ........320.............บาท
  • ข่า 3 กิโลกรัม x 80  บาท                เป็นเงิน  ........240.............บาท
  • การบูร 1 กิโลกรัม x 540  บาท                เป็นเงิน  .......540.............บาท
  • เกลือ 3 กิโลกรัม x 50  บาท              เป็นเงิน  .......150.............บาท      ระยะเวลาดำเนินงาน  วันที่  18  มีนาคม  2567
ระยะเวลาดำเนินงาน
19 มีนาคม 2567 ถึง 19 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยสามารถนำทฤษฎีการแพทย์แผนไทยนำมาใช้ในการดูแลตนเอง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2480.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,970.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันดลหิตสูงสามารถคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด และระดับความดันโลหิตของตนเองได้ และสามารถดูแลตนเองโดยนําทฤษฎีการแพทย์แผนไทยนำมาใช้ในการดูแลตนเอง


>