กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน รหัส กปท. L1483

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการวัยใส ไม่อ้วน โรงเรียนบ้านป่าแก่ ประจำปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านป่าแก่
กลุ่มคน
นักเรียนโรงเรียนบ้านป่าแก่ อายุ 5 – 12 ปี ที่มีอัตราของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน
ไม่เกินร้อยละ10
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องของปัญหาพฤติกรรมการกิน และรูปแบบการใช้ชีวิตที่เร่งรีบอันนำมาสู่โรคอ้วนและโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ นั้น ไม่ได้คุกคามเฉพาะผู้ใหญ่วัยทำงานเท่านั้น แต่ปัจจุบันปัญหาโรคอ้วนยังลามไปถึงวัยนักเรียน ซึ่งถือเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ผู้ปกครองควรใส่ใจ และหันกลับมาแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของลูกหลานกันอย่างจริงจังในอดีตคนทั่วไปมักคิดว่าเลี้ยงลูกให้อ้วนทำให้ดูน่ารัก น่าเอ็นดู แต่ในทางการแพทย์ เด็กที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานถือว่ามีภาวะโรคอ้วน ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกประเมินว่า ทั่วโลกมีเด็กอ้วนที่อายุต่ำกว่า 5 ปี จำนวนกว่า 22 ล้านคน ทำให้เด็กเหล่านี้กลายเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ ส่วนประเทศไทยจากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาโรคอ้วนในนักเรียนพบว่าเด็กไทยทุก ๆ 5 คนจะพบอย่างน้อย 1 คนที่เป็นโรคอ้วน ซึ่งนับเป็นตัวเลขที่น่าตกใจอย่างมาก เนื่องจากโรคอ้วนเป็นต้นเหตุที่ก่อให้เกิดโรคร้ายต่าง ๆ ตามมาอีกมากมาย อาทิ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ โรคมะเร็งและโรคหัวใจ เป็นต้น ยิ่งไปกว่านั้นเด็กหญิงที่อ้วน จะเข้าสู่ภาวะวัยรุ่นเร็วกว่าปกติ ประจำเดือนจะมาเร็ว และกระดูกปิดเร็ว ทำให้สูงได้ไม่เต็มศักยภาพ จึงน่าเป็นห่วงว่าเด็กรุ่นใหม่จะเตี้ยลงเรื่อย ๆ นอกจากนี้ภาวะโรคอ้วนยังมีผลกระทบต่อการเรียนของเด็กอีกด้วย โดยพบว่าเด็กอ้วนส่วนมากมักมีปมด้อยจากรูปร่างของตัวเองและมักถูกเพื่อนๆล้อ ทำให้ไม่อยากไปโรงเรียน เบื่อหน่ายการเรียนได้ ส่งผลให้เรียนไม่ดี จากสถิติข้อมูลการรายงานภาวะการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ( ข้อมูลวันที่ 10 กันยายน 2566) โรงเรียนบ้านป่าแก่มีจำนวนนักเรียน 64 คน สำรวจภาวะการเจริญเติบโตโดยใช้น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง พบว่านักเรียนจำนวน 6 คน มีภาวะอ้วน นักเรียนจำนวน 6 คน มีภาวะเริ่มอ้วน และจำนวน 1 คน มีภาวะท้วม รวมนักเรียนที่มีปัญหาภาวะอ้วน เริ่มอ้วน และท้วมทั้งหมด 13 คน คิดเป็นร้อยละ20.31 ของนักเรียนทั้งหมด ดังนั้นเพื่อให้ผู้ปกครองและนักเรียนอ้วน เริ่มอ้วน และท้วม ได้ตระหนักและเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพจากโรคอ้วนและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาความอ้วน ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง เรียนได้อย่างดีมีประสิทธิภาพ และนำความรู้ที่ได้จากกิจกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองแลคนรอบข้างได้

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 2.เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน และอ้วน ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.เพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนลดลง
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. โครงการวัยใส ไม่อ้วน โรงเรียนบ้านป่าแก่ ประจำปีงบประมาณ 2567
    รายละเอียด

    1.ขั้นเตรียมการ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการวัยใส ไม่อ้วน ประจำปีงบประมาณ 2567
    2. จัดทำแผนงาน/ โครงการวัยใส ไม่อ้วน ประจำปีงบประมาณ 2567 3. คัดกรองนักเรียนโดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ประเมินภาวะโภชนาการ ตามเกณฑ์ 4. จัดระบบข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ให้มีความครอบคลุม ความถูกต้อง
    5. จัดทำระบบการคัดกรอง ส่งต่อ และแก้ไขปัญหาเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงในสถานศึกษา สถานบริการสาธารณสุขและคลินิกไร้พุง
    6. จัดกิจกรรมให้นักเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน  ได้เข้าร่วมเพื่อให้นักเรียนที่มีภาวะเริ่มและอ้วนลดลง

    2.ขั้นดำเนินการ





























    กิจกรรมที่ 1 วัยใส ใส่ใจ รู้ทัน โรคอ้วน
    1. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียนแกนนำ ดำเนินการจัดกิจกรรม วัยใส ใสใจ รู้ทัน
    โรคอ้วน 2. คณะกรรมการนักเรียนแกนนำดำเนินการจัดกิจกรรม โดยนำนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และนักเรียนทุกห้องเรียน และเฝ้าระวัง ติดตาม  บันทึก ประสานงานกับครูผู้รับผิดชอบโครงการ 3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรม แผ่นพับให้ความรู้ แก่นักเรียนปรับพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เริ่มอ้วนและนักเรียนทุกคน 4. จัดวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียนเกี่ยวกับ  อันตรายของภาวะโรคอ้วน  แนวทางการแก้ปัญหาภาวะโรคอ้วน
    4. คณะกรรมการ นักเรียนแกนนำรายงานผลการดำเนินกิจกรรมต่อครูผู้รับผิดชอบโครงการอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 2 โตไป ไม่อ้วน ( ออกกำลังกาย ยามเช้า แอโรบิค )
    1. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียนแกนนำ ดำเนินการจัดกิจกรรม โตไป ไม่อ้วน ( ออกกำลังกาย ยามเช้า แอโรบิค )
    2. คณะกรรมการนักเรียนแกนนำดำเนินการจัดกิจกรรม โดยนำนักเรียนกลุ่มเสี่ยง และนักเรียนทุกห้องเรียนออกกำลังกายยามเช้า  (แอโรบิคยามเช้า กีฬาเพื่อสุขภาพยามเย็น  ฟุตบอล  วอลเลย์บอล  ) และเฝ้าระวัง ติดตาม  บันทึก ประสานงานกับครูผู้รับผิดชอบโครงการ 2. ครูให้ความรู้ ปรับพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียนที่มีภาวะอ้วน เริ่มอ้วนและนักเรียนทุกคน 3. คณะกรรมการ นักเรียนแกนนำรายงานผลการดำเนินกิจกรรมต่อครูผู้รับผิดชอบโครงการอย่างต่อเนื่อง


    กิจกรรมที่ 3 อ่อนหวาน ส่งเสริมการไม่รับประทานอาหารประเภทของหวานแก่นักเรียน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการนักเรียนแกนนำ ดำเนินการจัดกิจกรรม อ่อนหวาน 2. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์กิจกรรม 3. จัดวิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียนและผู้ปกครอง 4. แกนนำนักเรียน สำรวจและเฝ้าระวังการจำหน่ายอาหารประเภทให้ความหวานสูง 5. แกนนำนักเรียน แบ่งประเภทอาหาร และทำสัญลักษณ์แบ่งสีของอาหารแต่ละชนิดอาหาร3สี 6. แกนนำนักเรียนรายงานผลการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
    3.ขั้นติดตามและประเมินผล 1. ประเมินจากการจัดกิจกรรมตามโครงการ

    งบประมาณ 9,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 28 ก.ค. 2567 ถึง 28 ก.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนบ้านป่าแก่

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 9,300.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน รหัส กปท. L1483

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน รหัส กปท. L1483

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 9,300.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................