กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เปียน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 138
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/10/2023

กำหนดเสร็จ 31/12/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน

ชื่อกิจกรรม
โครงการส่งเสริมป้องกันสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1) ขั้นตอนวางแผนงาน 1.1 ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบ       วิธีการดำเนินงานโครงการ 1.2 แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อ      ร่วมกันดำเนินงาน 2) จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล     เปียน
3) ขั้นตอนการดำเนินงาน               3.1 เขียนและเสนอโครงการต่อคณะผู้บริหารให้เห็นชอบและอนุมัติโครงการ               3.2 ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อจัดเตรียมโครงการ               3.3 ประชาสัมพันธ์การจัดโครงการให้ผู้ปกครองทราบ               3.4 ดำเนินการจัดโครงการตามระยะเวลาดำเนินการ                    3.4.1 แผนงานย่อย มีโครงการปฐมภูมิย่อย ซึ่งเป็นโครงปฏิบัติอย่างละเอียดเป็นจำนวน 3 โครง ประกอบด้วย 1) โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเปียน 2) โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเก่า-ตำแย 3) โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนหรัน                            - กิจกรรมที่ 1 การตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยอย่างเข้ม                                  (1) เดือนตุลาคม 2566 การตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยอย่างเข้ม ครั้งที่ 1                                  (2) เดือนพฤศจิกายน 2566 การตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยอย่างเข้ม ครั้งที่ 2                                  (3) เดือนธันวาคม 2566 การตรวจคัดกรองด้านสุขภาพแก่เด็กปฐมวัยอย่างเข้ม ครั้งที่ 3                            - กิจกรรมที่ 2 การกินดี กินเป็น เน้นสุขภาพ ระหว่างเดือนพฤศจิกายน ถึง ธันวาคม 2566
                                  ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเปียน                            - กิจกรรมที่ 3 บรรยายสรุปผลการดำเนินโครงการปฐมภูมิย่อย และให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวัง                                  การเจริญเติบโต การดูแลโภชนาการ การดูแลทันตสุขภาพ และการป้องกันและควบคุม                                  โรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก               3.5 สรุปผลการดำเนินการตามโครงการ ตลอดจนสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหา และข้อเสนอ แนะที่จะต้องดำเนินการในครั้งต่อไปและปีงบประมาณต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในเรื่องภาวะทุพโภชนา การของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเปียน กิจกรรมที่ 1 บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังการเจริญเติบ โต การดูแลโภชนาการ การดูแลทันตสุขภาพ และการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก งบประมาณ - ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร
  (1 แผ่น x 548 บาท)            คิดเป็นเงิน 548 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (138 คน x 35 บาท x 1 มื้อ)                            คิดเป็นเงิน 4,830 บาท - ค่าอาหารกลางวัน (138 คน x 80 บาท)                                    คิดเป็นเงิน 11,040 บาท - ค่าวัสดุและอุปกรณ์              คิดเป็นเงิน  1,582 บาท   รวมเป็นเงิน 18,000.-บาท กิจกรรมที่ 2 สรุปผลการดำเนิน การตามโครงการ ตลอดจนสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขปัญหา และข้อเสนอ แนะที่จะต้องดำเนินการในครั้งต่อไปและปีงบ ประมาณต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวทางการแก้ ปัญหาในเรื่องภาวะทุพโภชนาการของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเปียน งบประมาณ - ค่าวัสดุและอุปกรณ์              คิดเป็นเงิน 2,000 บาท   (รวมเข้าเล่ม)
  รวมเป็นเงิน 2,000.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ข้อที่ 1 เพื่อลดภาระของผู้ปกครองและช่วยเพิ่มสมรรถนะเกี่ยว กับพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ 2 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ ในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ 3 เพื่อเสริมสร้างสุขลักษณะนิสัยอันดีเกี่ยวกับการดูแล ความสะอาดของร่างกาย ข้อที่ 4 เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการของเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ 5 เพื่อเพิ่มความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังการเจริญเติบโต การดูแลโภชนาการ และการดูแลทันตสุขภาพ ให้กับ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่กำลังศึกษาอยู่ในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1) เด็กปฐมวัยทุกคนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน ได้รับการส่งเสริมและเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยเป็นรายบุคคล
2) ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคน มีความรู้และสามารถดูแลโภชนาการของเด็กปฐมวัยให้ถูกหลักโภชนาการและเพียงพอทุกวันได้
3) ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคน มีความรู้และสามารถดูแลทันตสุขภาพแก่เด็กได้
4) ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยทุกคน มีความรู้และสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อได้
5) ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลเปียน ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย และบุคลากรหน่วยงานสาธารณสุข มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย


>