กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการมะเร็งรู้ไว รักษาได้ ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านขาว

โครงการมะเร็งรู้ไว รักษาได้ ปี 2567

ตำบลบ้านขาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันพบว่าอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเพิ่มสูงขึ้นเป็นอันดับแรกของโรคที่ทำให้เกิดการเสียชีวิตของประเทศไทย มะเร็งที่พบมากที่สุดในผู้หญิงคือมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ซึ่งเป็นมะเร็งที่หากตรวจคัดกรอกพบความผิดปกติได้ตั้งแต่ในระยะแรกจะสามรถรักษาหายขาดได้ และมะเร็งอีกชนิดที่เพิ่มอัตราสูงขึ้นเรื่อยๆคือมะเร็งลำไส้ ที่พบว่าผู้ป่วยยังเข้ารับการคัดกรองค่อยข้างช้า เข้ารักการรักษาในระยะลุกลามแล้วมากกว่า ร้อยละ 80 สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงสาธารสุขที่เน้นการตรวจคัดกรองเพื่อหามะเร็งในระยะเริ่มแรกให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งดังกล่าวได้
จากข้อมูลการเข้าถึงตรวจคัดกรองมะเร็งของประชาชนตำบลบ้านขาวพบว่าความครอบคลุมการตรวจ คัดกรองมะเร็งปากมดลูกปี พ.ศ.2565-2566 ร้อยละ 25 อัตราการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ในกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 50-70 ปี พ.ศ.2565-2566 ร้อยละ 11.72 ซึ่งถือว่าครอบคลุมในการตรวจคัดกรอง อยู่ในระดับต่ำ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านขาวซึ่งมีหน้าที่ดูแลด้านสาธารสุขได้เห็นความสำคัญ ในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดโครงการมะเร็งรู้ไว รักษาได้เพื่อรณรงค์การตรวจคัดกรองให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงและส่งต่อเข้าสู้ระบบการรักษาอย่างรวดเร็วได้ทันก่อนเข้าสู่ระยะลุกลามต่อไป
ดังนั้นเพื่อให้การคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกครอบลุมกลุ่มเป้าหมายและสามารถพบผู้ที่มีความผิดปกติตั้งแต่แรกเริ่มก่อนเป็นโรคมากขึ้น โรงพยาบาลสุขภาพตำบลบ้านขาว จึงได้จัดทำโครงการ ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็ง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะเสี่ยงได้
  • สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้/ทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง มากกว่าร้อยละ 80
0.00
2 เพื่อเพิ่มการเข้าถึง/ความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งคัดกรองมะเร็งปากมดลูก-มะเร็งเต้านม-มะเร็งเต้านมลำไส้ตั้งแต่ระยยะไม่มีอาการ
  • สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีHPV DNA teatมากกว่าร้อยละ 60
  • ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ มากกว่าร้อยละ 10
  • ค่าคะแนนความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการในระดับดีมากกว่าร้อยละ 80
  • ทุกรายที่ตรวจพบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษา 100
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้โรคมะเร็งป้องกันได้ในกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้โรคมะเร็งป้องกันได้ในกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้/ทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
2. สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA test
3. ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส
4. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ
5. ทุกรายที่ตรวจพบความปกติ ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษา


>