กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง
กลุ่มคน
นายนบ มณี
นางสาวปุณิกา กาฬสินธุ์
ว่าที่ร.ต.หญิงกฤชมล หาญชนะ
นางอัญชลี บ่อเตย
นางบังอร สงค์ปาน
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันจะพบข่าวเกี่ยวกับปัญหาเด็กจมน้ำเป็นจำนวนมาก เด็กที่มีความเสี่ยงมากที่สุด คือระหว่างอายุ 1-9 ปี โดยมีปัจจัยเสี่ยง คือ เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการทรงตัวไม่ดี ทำให้ล้มในท่าที่ศีรษะทิ่มลงได้ง่าย จึงมักพบเด็กจมน้ำสูง ตามแหล่งน้ำภายในบ้านหรือบริเวณรอบๆบ้าน อีกอย่าง คือ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำเพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก รวมถึงการที่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ไม่มีความรู้ในการกู้ชีพหรือใช้วิธีปฐมพยาบาลแบบผิดวิธี เป็นต้น จากเหตุดังกล่าวหากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก จำเป็นต้องฝึกหัดให้เด็กว่ายน้ำเป็นและเรียนรู้วิธีช่วยชีวิตคนจมน้ำโดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ ดังนั้น กิจกรรมการว่ายน้ำถือว่ามีประโยชน์อย่างมากมาย อาทิ ช่วยบริหารร่างกายของเด็กปฐมวัยได้ทุกส่วน และยังช่วยฝึกความแข็งแรงของระบบการหายใจ นอกจากนี้การว่ายน้ำยังมีประโยชน์ทางด้านกายภาพ คือ สามารถช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายจากความตึงเครียด เสริมสร้างให้เด็กรู้สึกกระปรี้กระเปร่า แข็งแรง และที่สำคัญยังช่วยให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดหากตกน้ำหรือจมน้ำ การพัฒนาทักษะการว่ายน้ำยังช่วยให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ส่วนด้านความรู้สึกและอารมณ์ การเรียนว่ายน้ำจะช่วยเกิดการกระตุ้นการรับรู้และการสัมผัสตลอดเวลา ส่งผลให้เด็กมีอารมณ์ดี สดใสร่าเริงไม่งอแง และมีสมาธิพร้อมเรียนรู้สิ่งต่างๆ อีกทั้งช่วยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสมองสามารถเรียนรู้และจดจำได้ดีขึ้น ด้านสติปัญญาช่วยให้เด็กปฐมวัยสามารถรับฟังและปฏิบัติตามคำสั่งได้โดยเด็กขณะอยู่ในน้ำจะมีการเคลื่อนที่ของร่างกาย สมองจะตื่นตัวตลอดเวลา มีผลทำให้สมองได้รับการพัฒนาเร็วกว่าเด็กเล็กในวัยเดียวกันที่ไม่ได้เรียนว่ายน้ำช่วยให้เด็กปฐมวัยเจริญอาหาร นอนหลับพักผ่อนสนิท เป็นการกระตุ้นฮอร์โมนการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ให้เด็กมีความแข็งแรง สมบูรณ์สมวัย เด็กปฐมวัยที่ได้รับการฝึกทักษะการว่ายน้ำอย่างถูกวิธีจะไม่กลัวน้ำ และมีพื้นฐานการว่ายน้ำที่ดีดังนั้น การฝึกให้เด็กคุ้นชินกับการอยู่ในน้ำบ่อยๆ จะช่วยให้เด็กรู้สึกสนุก ผ่อนคลาย เกิดการจดจำทักษะการว่ายน้ำที่สำคัญทั้ง 4 ทักษะ ได้แก่ 1. ทักษะการกลั้นหายใจในน้ำ 2. ทักษะการลอยตัวในน้ำ3. ทักษะการเคลื่อนที่ในน้ำอย่างถูกต้อง 4. ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำ ทักษะเหล่านี้จะมีส่วนช่วยให้เด็กสามารถเอาตัวรอดจากการจมน้ำและช่วยเหลือผู้อื่นได้ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยคุณครูที่เป็นส่วนสำคัญในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากเด็กยังไม่สามารถอยู่ในน้ำได้เพียงลำพัง คุณครูจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแล คอยพยุง ประคอง ให้กำลังใจ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กไม่กลัวน้ำและการสัมผัสจะช่วยลดความกลัวของเด็กได้
คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการว่ายน้ำได้เป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้อีกทั้งสามารถลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวันมากขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 50.00
  • 2. เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 30.00
  • 3. เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 10.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมจัดประชุมคณะครู/วางแผนการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม
    -ประชุมวางแผน สำรวจเด็กอายุ 3-5 ปี เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการดังกล่าว

    -กำหนดแผนการเรียนว่ายน้ำโดยแบ่งนักเรียนเป็น2 กลุ่ม ดังนี้

    • กลุ่มที่ 1เด็กเล็ก จำนวน 7 คน

    • กลุ่มที่ 2เด็กเล็กจำนวน 7 คน

    -ประชุมจัดตารางเรียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ1ครั้ง ครั้งละ 60 นาที (โดยประมาณ)

    -ประสานผู้สอนว่ายน้ำ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการว่ายน้ำมาอบรมให้ความรู้ คำแนะนำการว่ายน้ำ ขั้นพื้นฐานและรู้จักชื่ออุปกรณ์ของการว่ายน้ำ

    งบประมาณ

    -ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. การฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำได้
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    -ผู้สอนว่ายน้ำ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการว่ายน้ำอบรมให้ความรู้ คำแนะนำการว่ายน้ำขั้นพื้นฐานให้เด็ก มีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้

    -ผู้สอนว่ายน้ำ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการว่ายน้ำ แนะนำให้รู้จักชื่อ วิธีการใช้ อุปกรณ์ของการว่ายน้ำและรู้จักวิธีการสวมชุดว่ายน้ำที่ถูกวิธี

    -ผู้สอนว่ายน้ำ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการว่ายน้ำสอนทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้นที่ถูกต้องและถูกวิธี

    -เรียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที (โดยประมาณ)

    งบประมาณ

    1. ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1 เมตร x 2.5 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 375บาท

    2. ค่าบริการลงสระจำนวน14 คน ๆ ละ 40 บาท จำนวน 13 ชั่วโมง เป็นเงิน 7,280 บาท

    3. ค่าเรียนว่ายน้ำ จำนวน14 คนๆละ 1,200 บาทเป็นเงิน 16,800บาท

    งบประมาณ 24,455.00 บาท
  • 3. ติดตามและประเมินพัฒนาการ
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม

    -ติดตามและประเมินพัฒนาการ/ทักษะการว่ายน้ำเบื้องต้นแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ

    -สรุปและรายงานผลพัฒนาการ/ทักษะของเด็กในการว่ายน้ำเบื้องต้นตามโครงการว่ายน้ำได้เป็น

    เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย ให้ผู้ปกครองทราบ

    งบประมาณ
    -ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 เมษายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 24,455.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
  2. เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้
  3. เด็กปฐมวัยมีอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลงและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง รหัส กปท. L5185

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 24,455.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................