กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรณีโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเกาะยาง(โดยนางเอกมล ปิ่นสุวรรณ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ)

หมู่ที่ 3, 4, 5 และหมู่ที่ 9 ตำบลนาขยาด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

 

1.28
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

 

25.20
3 ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

 

49.92
4 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้

 

65.04

ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง

25.20 15.00
2 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง

1.28 0.50
3 เพื่อเพิ่มร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี

65.04 70.00
4 เพิื่อเพิ่มร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี

49.92 49.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 330
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 22/04/2024

กำหนดเสร็จ 30/06/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสร้างความรอบรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในผู้ป่วยที่ควบคุมไม่ได้ โดยใช้หลัก 3อ 2 ส ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสร้างความรอบรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในผู้ป่วยที่ควบคุมไม่ได้ โดยใช้หลัก 3อ 2 ส ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิล 1.2x3.0 เมตร ตารางเมตรละ150 บาท จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 540 บาท
2.ค่าสมนาคุณวิทยากร 600 บาท/ชั่วโมง จำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัด จำนวน 55 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 1,375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 เมษายน 2567 ถึง 24 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเข้าร่วมกิจกรรมสร้างความรอบรู้เกี่ยวกับโรคร้อยละ 90
-.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรค ภาวะแทรกซ้อนของโรค และสามารถดูแลตนเองได้ ร้อยละ 90
- ผู้ป่วยเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้อง
- ลดภาวะแทรกซ้อนโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง
- ลดอัตราการตายจากภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3715.00

กิจกรรมที่ 2 ให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพช่องปากและการดูแลเท้าพร้อมตรวจสุขภาพช่องปากและตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวานทุกราย

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้ในเรื่องสุขภาพช่องปากและการดูแลเท้าพร้อมตรวจสุขภาพช่องปากและตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวานทุกราย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าสมนาคุณวิทยากร 600 บาท/ชั่วโมง จำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้เข้ารับการอบรมและทีมผู้จัด จำนวน 135 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 3,375 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 เมษายน 2567 ถึง 26 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลช่องปาก/การดูแลเท้าและได้รับการตรวจช่องปากและเท้า ร้อยละ 80
  • ผู้ป่วยเบาหวานมีสุขภาพช่องปาก/สุขภาพเท้าที่ดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5175.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 8,890.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรอบรู้เรื่องโรค ภาวะแทรกซ้อนของโรค และสามารถดูแลตนเองได้ ร้อยละ 90
- ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลช่องปาก/การดูแลเท้าและได้รับได้รับการตรวจช่องปากและเท้า ร้อยละ 80
- ผู้ป่วยเบาหวานมีสุขภาพช่องปาก/สุขภาพเท้าที่ดี ไม่มีภาวะแทรกซ้อน


>