กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยฟันดีเริ่มที่ซี่แรก ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเกาะยาง(โดยนางสาวจันทิมา อินริสพงศ์ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน)

หมู่ที่ 3, 4, 5 และหมู่ที่ 9 ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กอายุ 0-3 ปี ฟันผุ

 

40.09

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้บริการตรวจฟันแก่เด็กก่อนวัยเรียน (0-3 ปี)

เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

70.00 90.00
2 เพื่อให้เด็ก 0-3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุโดยการเคลือบสารฟลูออไรด์วานิช

เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช

70.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ให้ทันตสุขศึกษาพร้อมกับการฝึกทักษะแก่ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน (0-3 ปี)

ชื่อกิจกรรม
ให้ทันตสุขศึกษาพร้อมกับการฝึกทักษะแก่ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน (0-3 ปี)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อให้ทันตสุขศึกษาพร้อมกับการฝึกทักษะแก่ผู้ปกครองของเด็กก่อนวัยเรียน และการตรวจสุขภาพช่องปากและเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มารับวัคซีน ที่ รพ.สต.
-ตรวจสุขภาพช่องปาก จัดทำฐานข้อมูลสุขภาพช่องปากเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มารับวัคซีนที่ รพ.สต.
-แจกแปรงสีฟันแก่เด็กที่มาเคลือบฟลูออไรด์ พร้อมกับให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการการทำความสะอาดช่องปากเด็กในผู้ปกครอง
งบประมาณ ดังนี้
1.ถ้วยหัดดื่ม จำนวน 60ใบๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
2.ชุดแปรงสีฟัน ยาสีฟันเด็ก พร้อมถุงกิ๊ฟเซ็ท จำนวน 60 ชุดๆละ 70 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มีนาคม 2567 ถึง 15 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีที่มารับวัคซีนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ 70

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8400.00

กิจกรรมที่ 2 ให้บริการตรวจฟัน และเคลือบสารฟลูออไรด์วานิช เด็กก่อนวัยเรียน (0-3 ปี)

ชื่อกิจกรรม
ให้บริการตรวจฟัน และเคลือบสารฟลูออไรด์วานิช เด็กก่อนวัยเรียน (0-3 ปี)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การจัดบริการเคลือบฟลูออไรด์วานิช
1. ทาฟลูออไรด์วานิชในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
2. ติดตามการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่เสี่ยงฟันผุ (เฝ้าระวัง)
งบประมาณ ดังนี้ 1. ถุงนิ้วผ้า จำนวน 60 แพ็คๆละ 15 บาท เป็นเงิน 900 บาท
2. พู่กันทาฟลูออไรด์ จำนวน 2 กล่องๆละ 150 บาท เป็นเงิน 300 บาท
3. ฟลูออไรด์วานิช จำนวน1 หลอดๆละ 1,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 มีนาคม 2567 ถึง 29 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและมีฟันขึ้นได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 70
-เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงฟันผุ ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปีมีทันตสุขภาพที่ดี ปราศจากฟันผุ


>