กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยฟันสวย ยิ้มใสก่อนวัยเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาขยาด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเกาะยาง(โดยนางสาวจันทิมา อินริสพงศ์ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน)

หมู่ที่ 3, 4, 5 และหมู่ที่ 9 ตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กอายุ 3-5 ปี มีปัญหาโรคฟันน้ำนมผุ

 

40.59

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก

90.83 95.00
2 เพื่อให้เด็กนักเรียน 3-5 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์ วานิช และได้รับการรักษาตามความจำเป็น

เด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช และได้รับการรักษาตามความจำเป็น

90.38 95.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 14/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังทันตสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
เฝ้าระวังทันตสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมสำรวจสุขภาพช่องปากเด็กวัยก่อนเรียน (อายุ 3 – 5 ปี ) ทุกคน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา
-ดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังทันตสุขภาพตรวจสุขภาพช่องปากหาฟันผุเด็ก (ภาคเรียนละ 1 ครั้ง)
-เด็กทุกคนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน
-ทาฟลูออไรด์วานิชในเด็กอายุ 3 - 5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษา
โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่าย ดังนี้
1. ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 200 อันๆละ 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
2. ค่ายาสีฟัน จำนวน 200 หลอดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท
3. ค่าพู่กันทาฟลูออไรด์ จำนวน 4 กล่องๆละ 150 บาท เป็นเงิน 600 บาท
4. ค่าฟลูออไรด์วานิช จำนวน 2 หลอดๆละ 1,300 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เด็กวัยก่อนเรียน (อายุ 3 – 5 ปี) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยร้อยละ ๘๕
  • เด็กวัยก่อนเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กอนุบาลโรงเรียนในประถมศึกษาได้รับบริการส่งเสริมป้องกันโดยการทาฟลูออไรด์วานิช และได้รับการรักษาตามความจำเป็นอย่างน้อยร้อยละ 80
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15200.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้บริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมให้บริการรักษาทางทันตกรรมตามความจำเป็น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถมศึกษาได้รับบริการอุดฟันด้วยวิธี ART Technique
ไม่มีค่าใช้จ่าย

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 มิถุนายน 2567 ถึง 28 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ลดอัตราฟันผุเพิ่มในเด็กวัยก่อนเรียน (อายุ 3 – 5 ปี) ทุกคน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,เด็กชั้นอนุบาลใน โรงเรียนประถมศึกษา

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ลดอัตราฟันผุเพิ่มในเด็กวัยก่อนเรียน อายุ3 – 5 ปี


>