กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาผู้ประกอบการร้านชำและภาคีเครือข่าย ด้านคุ้มครองผู้บริโภค ตำบลระแว้ง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้ง

นางสาวดารียะห์กานา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภ

 

5.00
2 ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภ

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและ เครือข่าย อสม. มีความรู้ในการเลือกผลิตภัณฑ์สุขภาพมาบริโภคและจำหน่าย 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการและเครือข่าย อสม.ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3. เพื่อกำกับดูแล เฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 58
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 29/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/12/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ลงพื้นที่สำรวจร้านขายของชำ กลุ่มเป้าหมาย ก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยอสม. 2. จัดทำสื่อ ประชาสัมพันธ์ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารยา เครื่องสำอาง วัตถุอันตราย ที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ และ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ห้ามจำหน่ายในร้านชำ3. จัดอบรมเรื่องการเลือกผลิต

ชื่อกิจกรรม
1. ลงพื้นที่สำรวจร้านขายของชำ กลุ่มเป้าหมาย ก่อนเข้าร่วมโครงการ โดยอสม. 2. จัดทำสื่อ ประชาสัมพันธ์ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารยา เครื่องสำอาง วัตถุอันตราย ที่สามารถจำหน่ายในร้านชำ และ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่ห้ามจำหน่ายในร้านชำ3. จัดอบรมเรื่องการเลือกผลิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ขอสนับสนุนงบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลระแว้ง เป็นเงิน 31,260 บาท โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ กิจกรรมอบรมผู้ประกอบการร้านชำและตรวจประเมินร้านชำ     -  ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรม    58 คน  x 70 บาท  เป็นเงิน    4,060  บาท     -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 58 คน x 35 บาท x 2 มื้อ      เป็นเงิน    4,060  บาท     -  ค่าวัสดุสำนักงาน                       เป็นเงิน  2,000    บาท     -  ค่าตัวอย่างผลิตภัณฑ์สุขภาพ                  เป็นเงิน  2,000    บาท -ค่าไวนิลประชาสัมพันธ์ เรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ขนาด80 ซม.1.80 ซม. จำนวน 3 ป้าย * 380 บาท      เป็นเงิน 1,140 บาท     -  ค่าตอบแทนวิทยากร  6 ชม.x 600 บาท * 2 คน            เป็นเงิน  7,200    บาท


กิจกรรมประกวดร้านชำคุณภาพ 1.  ค่าจัดทำป้ายฟิวเจอร์บอร์ด ร้านชำคุณภาพ ขนาด 40
60 จำนวน 6  ป้าย  x  150 บาท
เป็นเงิน      900    บาท 2.  ค่าของรางวัลในการประกวด  10  รางวัล        เป็นเงิน   5,000  บาท -  รางวัลชนะเลิศอันดับ 1         จำนวน 1 รางวัล -  รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1       จำนวน 1 รางวัล -  รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2      จำนวน 1 รางวัล -  รางวัลชมเชย            จำนวน 7 รางวัล

  1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการประกวด จำนวน 3 คน * 1,500 บาท  เป็นเงิน 4,500 บาท

                             รวมเป็นเงินทั้งสิ้น    31,260 บาท ถ้วน หมายเหตุ ..... ถัวเฉลี่ยทุกรายการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
29 มกราคม 2567 ถึง 30 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ร้านขายของชำมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่มีฉลากถูกต้อง ไม่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่หมดอายุ
  • ผู้ประกอบการเจ้าของร้านชำและเครือข่าย อสม.  มีศักยภาพและตระหนักถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพมาจำหน่ายและบริโภคในร้านขายของชำมากขึ้น
  • ประชาชน ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพในร้านขายของชำมากขึ้น ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในร้านขายของชำเพื่อให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31260.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,260.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่าย งบประมาณ ถั่วเฉลีย ทุกรายการ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ มีการเลือกสินค้า ที่ถูกต้อง ไม่มีผลิตภัณฑ์สุขภาพที่หมดอายุมาจำหน่าย
2.เครือข่ายสุขภาพ อสม. มีความรู้ ในการเลือกสินค้า ที่ถูกต้อง
3. ประชาชน มีความปลอกภัย ในการซื้อสินค้าในร้านชำ


>