กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง รหัส กปท. L5309

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกรประจำปี ๒๕๖๗
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์สุขภาพชุมชนกำแพง
กลุ่มคน
๑. นางสาวรสนา หนูวงศ์ ผู้ประสานงานคนที่ ๑ เบอร์โทร ๐๘๓ -๖๕๙๙๖๔๐
๒. นางสาวณัฐสิมา เส็มสัน ผู้ประสานงานคนที่ ๒ เบอร์โทร๐๘๑ -๔๗๘๕๙๙๓
๓. นางจุรีพร มานะกล้า
๔. นางสาวจิรัฐติกาล เจ๊ะสา
๕. นางสาวฟาดีลา บิลังโหลด
3.
หลักการและเหตุผล

 

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้างและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ๑.เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมีตกค้างและการป้องกันตนเองร้อยละ ๘๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มที่ผลเลือดผิดปกติได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่ผลเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและรับยาสมุนไพรล้างสารเคมีร้อยละ ๑๐๐
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. สำรวจเกษตรกรในพื้นที่
    รายละเอียด

    ๑.๑ สำรวจจำนวนเกษตรกรผู้ปลูกผักในพื้นที่โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ๑.๒ คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. อบรมให้ความรู้และจัดตั้งแกนนำเกษตรกร
    รายละเอียด

    รายละเอียดกิจกรรม ๒.๑ ทำแบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ( นบก๑-๕๖) ๒.๒ ให้ความรู้เรื่องพิษภัยจากสารเคมีตกค้าง,การป้องกันตนเองเมื่อใช้สารเคมี และการใช้เกษตรอินทรีย์ ๒.๓ การปฏิบัติตัวเมื่อพบสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดและการใช้สมุนไพรล้างพิษ ๒.๔ สอน / สาธิตการทำชาชงสมุนไพร
    ๒.๕ จัดตั้งแกนนำเกษตรกรในแต่ละชุมชน งบประมาณ ๑.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์ จำนวน ๘๕ คนๆละ๑ มื้อๆละ ๖๕ บาท เป็นเงิน ๕,๕๒๕ บาท
    ๒.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าอบรมและผู้สังเกตการณ์ จำนวน ๘๕ คนๆละ๒ มื้อๆละ ๒๕ เป็นเงิน ๔,๒๕๐ บาท ๓.ค่าตอบแทนวิทยากร ๖ ชม.ๆละ ๓๐๐ บาทเป็นเงิน ๑,๘๐๐ บาท ๔.ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด ๑.๕x๓ เมตร จำนวน ๑ ผืน เป็นเงิน ๖๗๕ บาท ๕.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ ๕.๑ ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ( กระเป๋า สมุด ปากกา ) จำนวน ๘๐ คนๆละ ๓๕ บาท เป็นเงิน ๒,๘๐๐ บาท ๕.๒.ค่าจัดทำแบบบันทึกสุขภาพเกษตรกรจำนวน ๘๐ เล่มๆละ ๓๐ บาท เป็นเงิน ๒,๔๐๐ บาท ๖.ค่าอุปกรณ์และสมุนไพรในการทำชารางจืด ๖.๑ ค่าใบรางจืด ๑,๐๐๐ บาท ๖.๒ ค่าวัสดุ / อุปกรณ์ในการทำชารางจืด ๒,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๒๐,๔๕๐ บาท ตารางการอบรม ๐๘.๓๐ – ๐๘.๔๕ น. ลงทะเบียนผู้เข้ารับการอบรม
    ๐๘.๔๕–๐๙.๐๐น. ชี้แจงวัตถุประสงค์และประวัติความเป็นมาของโครงการ
    ๐๙.๐๐ –๑๐.๓๐ น. พิษภัยและการป้องกันสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด
    ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๐ น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    ๑๐.๔๐ – ๑๒.๑๐ น. การป้องกันตนเองเมื่อใช้สารเคมี/การใช้เกษตรอินทรีย์
    ๑๒.๑๐ – ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
    ๑๓.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. การใช้สมุนไพรแก้พิษเบื้องต้น /การทำชาชงรางจืด
    ๑๔.๐๐ – ๑๔.๑๕ น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม
    ๑๔.๑๕ –๑๖.๑๕ น. ให้บริการรักษาพยาบาลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
    ๑๖.๑๕ – ๑๖.๓๐ น. ตอบข้อซักถามต่างๆ

    งบประมาณ 20,450.00 บาท
  • 3. ๓. การเจาะเลือดเกษตรกร
    รายละเอียด

    ๓.๑.การตรวจหาสารพิษตกค้างในเลือดจำนวน ๒ ครั้ง (ห่างกัน ๔- ๖ เดือน) ๓.๒ แจ้งผลการตรวจหาสารพิษตกค้างในกระแสเลือด ๓.๓ เปรียบเทียบผลการเจาะเลือดหารสารเคมีตกค้างและแจ้งกลุ่มเป้าหมายทราบผล ๓.๔ ให้ความรู้ คำแนะนำรายกลุ่ม / รายบุคคล ๓.๕ ให้การรักษาด้วยสมุนไพร (รางจืด ) ในกลุ่มที่มีผลเลือดอยู่ในเกณฑ์ไม่ปลอดภัย ๓.๖ การสุ่มตรวจหาสารเคมีตกค้างในผักจำนวน ๒ครั้งๆ ละ ๘๐ ตัวอย่าง ( รวม ๑๖๐ ตัวอย่าง) งบประมาณ ๑.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับเกษตรกร จำนวน ๒๔๐ คนๆละ ๒๕ บาทจำนวน ๒ ครั้งเป็นเงิน ๑๒,๐๐๐ บาท ๒.ค่าวัสดุ / อุปกรณ์ในการเจาะเลือด ๒.๑ เข็มเจาะเลือดเกษตรกร ๓ กล่องๆละ ๑,๑๐๐ บาท เป็นเงิน ๓,๓๐๐ บาท ๒.๒ ค่า tube ใส่เลือด ๕ ขวดๆ ละ ๑๐๐ บาท เป็นเงิน ๕๐๐ บาท ๒.๓ ค่ากระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส จำนวน ๕ ขวดๆ ละ ๘๐๐ บาท เป็นเงิน ๔,๐๐๐ บาท ๒.๔ ค่าแอลกอฮอล์ ๗๐ % จำนวน ๔ ขวดๆ ละ ๕๐ บาทเป็นเงิน ๒๐๐บาท ๒.๕ ค่าชุดตรวจหายาฆ่าแมลงในผัก จำนวน ๑๖ ชุดๆ ๘๐๐ บาท (๑ชุดมี ๑๐ ตัวอย่าง) เป็นเงิน ๑๒,๘๐๐ ๒.๖ ค่ายาแคปซูลรางจืดจำนวน ๕๐ กล่องๆละ ๑๕๐ บาท เป็นเงิน ๗,๕๐๐ รวมเป็นเงิน ๔๐,๓๐๐ บาท

    งบประมาณ 40,300.00 บาท
  • 4. รายงานผลโครงการ
    รายละเอียด

    ๔.๑จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน ๒ครั้ง ๔.๒จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ งบประมาณ - ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผล จำนวน ๓ เล่มๆละ ๒๕๐ บาท เป็นเงิน ๗๕๐ บาท รวมเป็นเงิน ๗๕๐ บาท

    งบประมาณ 750.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 8 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

๘ ชุมชนในเขตเทศบาล

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 61,500.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

๑. เกษตรกรมีความรู้และตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกค้างและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๒.เกษตรกรในชุมชนได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือด ๓.เกษตรกลุ่มที่ผลเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร ๔.เกิดแหล่งผลิต แหล่งจำหน่ายอาหารปลอดภัยในชุมชนอย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง รหัส กปท. L5309

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพง รหัส กปท. L5309

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 61,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................