กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการลดขยะอินทรีย์ ลดโรค หมู่บ้านทานตะวัน ชุมชนบ้านทุ่งโดน 4 (ทำถังปุ๋ยหมักเติมอากาศ น้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาเอนกประสงค์)

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการลดขยะอินทรีย์ ลดโรค หมู่บ้านทานตะวัน ชุมชนบ้านทุ่งโดน 4 (ทำถังปุ๋ยหมักเติมอากาศ น้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาเอนกประสงค์)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์

กลุ่มหมู่บ้านทานตะวัน ชุมชนบ้านทุ่งโดน 4

1. นางสาวนฤภัย สมฤดี
2. นายกฤตโชค ชัยพัฒนาการ
3. นายวรรณโณ สนธิพัฒน์
4. นางชญานิศ ทวีผล
5. นายพินิจ ชุ่นสวัสดิ์

หมู่บ้านทานตะวัน ชุมชนบ้านทุ่งโดน 4 ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรู้ในการจัดการขยะอินทรีย์

 

20.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะของครัวเรือน

 

80.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่มีความรู้และการใช้ผลิตภัณฑ์น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาเอนกประสงค์

 

10.00

ปัจจุบันการจัดการขยะครัวเรือนยังเป็นปัญหาหลักทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นภายในหมู่บ้าน ชุมชน เทศบาล และประเทศ การให้ความรู้ ความเข้าใจ และปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนใส่ใจ ร่วมมืออย่างจริงจัง การบริหารจัดการขยะอย่างถูกวิธี เริ่มต้นจากการคัดแยกขยะในครัวเรือนออกเป็น 4 ประเภท กล่าวคือ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะทั่วไป และขยะอันตราย จะเป็นผลดีต่อ สิ่งแวดล้อม อีกทั้งการนำผลผลิตจากการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ เช่น ปุ๋ยหมักอินทรีย์ น้ำหมักชีวภาพ น้ำยาอเนกประสงค์มาใช้งาน จะเป็นการเสริมสร้างสุขภาพ ปลอดภัย ไร้สารเคมี ประหยัด และสามารถสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการขยะครัวเรือน และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพ น้ำยาเอนกประสงค์ ตลอดจนการนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ร้อยละ 70 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการทำน้ำหมักชีวภาพและน้ำยาเอนกประสงค์ ตลอดจนการนำไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

0.00
2 เพื่อลดพาหะ และแหล่งเพาะเชื้อโรคในชุมชน เสริมสร้างสุขภาวะ

ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรม มีความรู้ เข้าใจ ใส่ใจสุขภาวะ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2024

กำหนดเสร็จ 15/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมคณะทำงาน เพื่อกำหนดรูปแบบการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  • ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อประชาสัมพันธ์ช่องทางต่างๆ เช่น กลุ่มไลน์ เว็บไซต์เทศบาล

ค่าใช้จ่าย
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 10 คน x 35 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
350.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก และการจัดทำถังขยะเปียก ถังปุ๋ยหมักเติมอากาศ ในครัวเรือน การทำน้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาเอนกประสงค์

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้การจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก และการจัดทำถังขยะเปียก ถังปุ๋ยหมักเติมอากาศ ในครัวเรือน การทำน้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาเอนกประสงค์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอินทรีย์หรือขยะเปียก และจัดทำถังขยะเปียกถังปุ๋ยหมักเติมอากาศ
    ในครัวเรือน การทำน้ำหมักชีวภาพ และน้ำยาเอนกประสงค์ จำนวน 20 ครัวเรือน

ค่าใช้จ่าย
1. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 คน x 600 บาท x 2 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,600 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (รวมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จำนวน 30 คน x 35 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 2,100 บาท
3. ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม (รวมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง) จำนวน 30 คน x 100 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
4. ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ผืน ขนาด 1 x 3 เมตร x 180 บาท เป็นเงิน 540 บาท
5. ค่าถังเติมอากาศ ขนาด 120 ลิตร จำนวน 20 ถัง x 1,400 บาท เป็นเงิน 28,000 บาท
6. ค่าถังมีฝาพร้อมฝาสำหรับสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพ ขนาด 20 ลิตร จำนวน 1 ถัง x 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท
7. ค่าถังมีฝาพร้อมฝาสำหรับสาธิตการทำน้ำยาเอนกประสงค์ ขนาด 20 ลิตร จำนวน 1 ถัง x 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท
8. ค่าน้ำตาลทรายแดง จำนวน 1 กิโลกรัม x 30 บาท เป็นเงิน 30 บาท
9. ค่า N70 จำนวน 1 กิโลกรัม x 85 บาท เป็นเงิน 85 บาท
10. ค่าเกลือแกง จำนวน 1 ถุง x 15 บาท เป็นเงิน 15 บาท
11. ค่าน้ำหมัก/น้ำด่าง จำนวน 1 ชุด x 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท
12. ค่าน้ำยากลิ่นแต่ง จำนวน 2 ชุด x 40 บาท เป็นเงิน 80 บาท
13. ค่าสีผสมอาหาร จำนวน 2 ชุด x 30 บาท เป็นเงิน 60 บาท
14. ค่าจัดทำเอกสารสรุปโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
38810.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,160.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ครัวเรือนที่เข้าร่วมสามารถจัดการขยะครัวเรือนได้อยางมีประสิทธิภาพ
2. ลดแหล่งเพาะเชื้อโรคในชุมชน


>