กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลคลองเฉลิม ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกงหรา

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกงหรา ผู้รับผิดชอบ นางสาวพรภรัตน์ชาหอยสกุลโทร.095 4383403
โรงพยาบาลกงหรา ผู้รับผิดชอบ นางศุภรัตน์ติญา เจริญผลโทร. 066 1630936

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

105.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

250.00
3 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

 

2.00
4 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

20.00
5 จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง เช่น ตาต้อ กระจก เป็นต้น (คน)

 

105.00
6 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

116.00
7 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

101.00
8 ร้อยละของผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

171.00
9 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

124.00
10 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม

 

560.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

2.00 1.50
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

250.00 300.00
3 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

560.00 700.00
4 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

116.00 100.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

101.00 150.00
6 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง

จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง

105.00 90.00
7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง

124.00 115.00
8 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด

171.00 165.00
9 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุ 2.เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรม 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนวัยเดียวกัน 4. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ 5. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และสามารถเขียนแผนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมแก่ตนเองได้

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 1,820
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/01/2024

กำหนดเสร็จ 10/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-มหกรรมสร้างเสริมสุขภาพดีและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้สูงอายุ

-ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 120 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นจำนวนเงิน 8,400.- บาท

-ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 120 คนๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นจำนวนเงิน 6,000 .- บาท

-ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน 800.- บาท

-ค่าจ้างเหมาเวทีและเครื่องเสียงเป็นเงิน 2,000.- บาท

1.จัดบู้ทส่งเสริมอาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชมรมผู้สูงอายุ

-วัสดุอุปกรณ์ในการจัดบู้ทจำนวนเงิน 4,500.- บาท

2.กิจกรรมสันทนาการและออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
3.สัมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องปัญหา และการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ

4.กิจกรรมแข่งกีฬาพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ

-ค่าอุปกรณ์ออกกำลังกาย จำนวนเงิน2,500.- บาท

5.ประกวดผู้สูงอายุสุขภาพดีต้นแบบ อำเภอกงหรา

-ประกาศนียบัตรผู้สูงอายุต้นแบบพร้อมกรอบ จำนวน 3 ป้ายๆละ 200.- บาทรวมเป็นเงิน 600.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มกราคม 2567 ถึง 10 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรองและประเมินสุขภาพ ร้อยละ 100 2.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและฟื้นฟูให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 60 3.ผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติ มีทักษะการปฏิบัติตัว การดูแลสุขภาพ ร้อยละ 80 4.ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 85

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
24800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,800.00 บาท

หมายเหตุ :
งบประมาณในแต่ละกิจกรรมสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ระบบการดูแลผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความเข้มแข็งมากขึ้น
2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี
3 .ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่อง
4. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>