กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตาดีกาสะอาดด้วยมือเรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย

ชมรมตาดีกาตำบลปุโละปุโย

1.นายมูฮัมหมัดเฟาซี มะเซ็ง
2.นายมะหะมะยะกี กะลูแป
3.นายอุซือมัน ยูโซะ
4.นายสูดิรมาน อาแว
5.นายอามิน สาอิ

ตำบลปุโละปุโย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาขยะมีแต่จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพราะเป็นการเพิ่มของประชากร อีกทั้งพฤติกรรมของประชาชนที่ไม่ค่อยเห็นความสำคัญของการทิ้งขยะที่ถูกต้อง จึงทำให้สภาพของชุมชนตลอดจนครัวเรือนมีขยะจากการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้น ทำให้สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม สกปรก ส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค การแก้ปัญหาเหล่านี้ จะต้องเริ่มจากเด็กและเยาวชน ให้มีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำคัญของปัญหาขยะ ร่วมกันแก้ปัญหาโดยการคัดแยกขยะ การจัดการขยะที่ถูกวิธี ชมรมตาดีกาตำบลปุโละปุโย ได้พิจารณาเห็นความสำคัญของปัญหาขยะภายในชุมชน จึงได้จัดโครงการตาดีกาสะอาดด้วยมือเรา เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลปุโละปุโย รู้จักการจัดการขยะให้ถูกต้อง และตระหนักถึงปัญหาโรคที่มากับยะ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชนและครัวเรือน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ : เด็กและเยาวชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชนและครัวเรือน ทำให้ชุมชนสะอาด

70.00 80.00
2 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องและตระหนักถึงปัญหาโรคที่มากับขยะ

เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องปราศจากโรคที่มากับขยะ

70.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 85
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและโรคที่มากับขยะ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและโรคที่มากับขยะ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 600 บ x 1 คน x 6 ชม. =3,600 บ.
ค่าอาหารกลางวัน 60 บ x 85 คน x 1 มื้อ = 5,100 บ.
ค่าอาหารว่าง 30 บ x 85 คน x 2 มื้อ = 5,100 บ.
ค่าวัสดุอุปกรณ์ กระเป๋าใส่เอกสาร 30 บ. x 85 = 2,550 บ.
ปากกา 10 บ. X 85 คน = 850 บ. สมุด 10บ. x 85 คน 850 บ.
กระดาษ A4 120 บ. X 1 รีม = 120 บ.
กระดาษบรู๊ฟขาว 8 บ. X 10 แผ่น = 80 บ. ปากกาเคมี 25 บ. X 8 ด้าม = 200 บ.
ค่าเช่าและควบคุมเครื่องเสียง (เหมาจ่าย) = 830 บ.
ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1.2 X 3 ม.= 720

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงค์ Big cleaning day

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ Big cleaning day
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กและเยาวชนในชุมชนเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะในชุมชนและครัวเรือน ทำให้ชุมชนสะอาด
2.เด็กและเยาวชนในชุมชนรู้จักการจัดการขยะที่ถูกต้องปราศจากโรคที่มากับขยะ


>