กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพจิต เพิ่มพูนอีหม่าน บ้านปะกาลือสง ปี 67

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง

ชมรมอาสามสมัครสาธารณสุข ม.6 ปะกาลือสง ต.ตุยง

1. นายแวยะมา แวดือราเฮง
2. นางสาวซามีเดาะ อาแว
3. นางสาวหามีดะ สาและ
4. นางสาวปาตีเมาะ หะยีบือเฮง
5. นางสาวแอเสาะ เปาะซา

หมู่ที่ 6 บ้านปะกาลือสง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยที่ผันแปรอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ประชากรต้องดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ เนื่องจากมีการแข่งขันสูง ทำงานแข่งกับเวลา และค่าครองชีพสูงทำให้เกิดความเครียด ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี ความสะดวกสบาย อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พฤติกรรมสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปรวมไปถึงสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวังแยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ จึงควรส่งเสริมสุขภาพจิต บูรณาร่วมกับการใช้ศาสนบำบัดความเครียดและเพิ่มพูนอีหม่านให้กับคนในชุน
ดังนั้ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข หมู่ที่ 6 ตำบลตุยง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิต เพิ่มพูนอีหม่าน บ้านปะกาลือสง ตำบลตุยง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อประเมินความเครียดและภาวะซึมเศร้าให้แก่ประชาชนในพื้นที่

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการประเมินความเครียดและภาวะซึมเศร้าคิดเป็นร้อยละ 80

300.00 240.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพจิตที่ดี

ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพจิตที่ดี คิดเป็นร้อยละ 90

240.00 216.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมการสร้างเครือข่าย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเครือข่ายคณะทำงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน งบประมาณ    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 40 คน x 35 บาท   เป็นเงิน  1,400.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีการทำงานที่เป็นเครือข่าย
  2. มีการวางแผนในการดำเนินงานและสร้างความเข้าใจในเครือข่าย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1400.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินความเครียด

ชื่อกิจกรรม
ประเมินความเครียด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมประเมินความเครียด และภาวะซึมเศร้า (ST5 , 2 Q, 9Q) บูรณาการร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ งบประมาณ - ค่าเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจคัดกรอง (ป้ายประชาสัมพันธ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน แบบประเมิน ค่าถ่ายเอกสารฯล และอื่นๆ) เป็นเงิน3,220 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. มีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานพร้อม
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง การประเมินความเสี่ยง
  3. มีข้อมูลความเครียดและภาวะซึมเศร้าเพื่อใช้ในการจัดการแก้ไขปัญหาในลำดับต่อไป
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3220.00

กิจกรรมที่ 3 พัฒนากลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
พัฒนากลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ส่งเสริมสุขภาพจิต(กลุ่มเสี่ยงหรือผู้ดูแล) บูรณาการร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ประกอบด้วยเรื่อง - สถานการณ์ความเครียดและปัญหาการซึมเศร้าในปัจจุบัน - อาการแสดงภาวะซึมเศร้า - สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า - การช่วยเหลือและการป้องกันผู้ที่ที่มีภาวะซึมเศร้า - วิธีการป้องกันรักษาภาวะซึมเศร้าในกลุ่มอายุต่างๆ - การใช้หลักการศาสนาเพิ่มพูนอีหม่านส่งเสริมสุขภาพจิต
งบประมาณ
- ค่าอาหารกลางวัน 50 คน X 60 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 50 คน x 35 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน3,500.-บาท - ค่าสัมนาคุณวิทยากร 6 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,600.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพที่ดีขึ้นสามารถนำไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวันต่อไป
  2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลสุขภาพและมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10100.00

กิจกรรมที่ 4 การติดตามประเมินกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
การติดตามประเมินกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การติดตามประเมินกลุ่มเสี่ยงเพื่อตรวจคัดกรองซ้ำ และวางแผนระบบการส่งต่อในลำดับต่อไป งบประมาณ    - ไม่ใช้งบประมาณ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเเสี่ยงหรือผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ประเมินผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประเมินผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมประเมินผลการดำเนินงาน จัดทำรูปเล่มรายงานกองทุนฯ งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน x 35 บาท เป็นเงิน1,400.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีรายงานสรุปส่งคณะกรรมการกองทุนฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,120.00 บาท

หมายเหตุ :
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
1. จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตุยง
2. ประชุมทีมคณะทำงาน เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
3. ประเมินความเครียด และภาวะซึมเศร้า (ST5 , 2 Q, 9Q)
4. อบรมส่งเสริมสุขภาพจิต
- จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ความเครียดและปัญหาการซึมเศร้าในปัจจุบัน
- อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับ อาการแสดงภาวะซึมเศร้า
- สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า
- การช่วยเหลือและการป้องกันผู้ที่ที่มีภาวะซึมเศร้า
- วิธีการป้องกันรักษาภาวะซึมเศร้าในกลุ่มอายุต่างๆ
- การใช้หลักการศาสนาเพิ่มพูนอีหม่านส่งเสริมสุขภาพจิต
5. สรุปและประเมินผลโครงการ จัดทำรายงานรูปเล่มรายงานคณะกรรมการกองทุนฯ

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนได้รับการประเมินความเครียด
2. ประชาชนได้มีความรู้และสามารถจัดการสุขภาพจิตได้


>