กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมการเเปรงฟันในโรงเรียนสตูลศานติศึกษา
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนสตูลศานติศึกษา
กลุ่มคน
1.นางพัณณิตา เอ็มดู ผู้ประสานงานคนที่ 1 (0942817669)
2.นางสาวอัญชนา พ่อเหตุ ผู้ประสานงานคนที่ 2 (0924849636)
3.นายอดุลย์ มะมิง
4.นางสาวมูรชีดา สาหลัง
5.นางสาวยุมอะ มันตุเตะ
3.
หลักการและเหตุผล

โรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัดในกลุ่มประเทศพัฒนาน้อยและกำลังพัฒนา เมื่อไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อพัฒนาการ สุขภาพ การสบฟัน และการเรียน ประเทศไทยเฉลี่ยเด็กอายุ ๑๒ ปี และ ๑๕ ปี ปวดฟันจนขาดเรียน ในขณะที่วัยผู้ใหญ่มีปัญหาเรื่องฟันผุและ ปริทันต์อักเสบ รวมทั้งความเสื่อมถอยจากการมีอายุยืน เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและการงานอาชีพ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้สูงวัยแม้จะมีระบบประกันสุขภาพภาครัฐ แต่ยังมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึงบริการทั้งจากการจัดบริการและด้านประชาชน นอกจากนี้ในทัศนะของสังคมไทยรวมทั้งทันตบุคลากรและบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค่าบริการรักษาโรคในช่องปากและการฟื้นฟูสภาพยังมีราคาแพง เป็นอุปสรรคสำหรับการใช้บริการภาคเอกชนเมื่อภาครัฐไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้ ด้วยความเจริญทางด้านเทคโนโลยีความทันสมัยทำให้ผู้เรียนในยุคนี้เป็นผู้เรียนที่ติดกับการบริโภคนิยมทั้งทางด้านวัตถุ สิ่งของ อาหารผู้เรียนส่วนมากมักบริโภคอาหารที่ไม่มีประโยชน์เช่นขนมขบเคี้ยว ทอฟฟี่ ช็อคโกแลต ขนมหวานต่าง ๆ การที่ผู้เรียนทานอาหารเหล่านี้เข้าไปจะทำให้ผู้เรียนมีปัญหาเรื่องฟันผุ ซึ่งปัญหานี้มักเกิดขึ้นกับเด็กช่วงประถมเป็นส่วนมาก การที่จะปลูกฝังให้ผู้เรียนรักการแปรงฟันนั้นจึงเป็นสิ่งจำเป็น สิ่งที่จะช่วยให้ปัญหาฟันผุลดน้อยลง การที่เด็กจะปฏิบัติได้อย่างสม่ำเสมอนั้นต้องมีแรงจูงใจ หรือการกระทำร่วมกันเป็นกลุ่ม จากการตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียนในโรงเรียนสตูลศานติศึกษาพบว่านักเรียนมีฟันเเท้ผุจำนวน 85 คนคิดเป็นร้อยละ 10.76 เหงือกอักเสบจำนวน 53 คน คิดเป็นร้อยละ6.71

ดังนั้นทางโรงเรียนได้เห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคฟันผุจึงได้จัดทำ “โครงการส่งเสริมการเเปรงฟัน ” ขึ้นใน โรงเรียนสตูลศานติศึกษา โดยเริ่มจากกลุ่มอนุบาลตลอดจนประถมศึกษา การทำให้ผู้เรียนรักการแปรงฟันได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักดูแลสุขภาพของตัวเองเพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพในช่องปากของผู้เรียนให้มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น และเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของผู้เรียนให้เหมาะสมถูกต้องตามวัย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีและลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 นักเรียนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพฟันเพิ่มขึ้น 2. ร้อยละ 80 นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดีเเละฟันไม่ผุ
    ขนาดปัญหา 10.76 เป้าหมาย 80.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมชี้แจง สร้างเเกนนำ อสม.น้อย
    รายละเอียด
    1. สร้างนักเรียนชั้นป.5 เป็น อสม.น้อยในโรงเรียน เพื่อควบคุมดูแลการแปรงฟันและอื่นเกี่ยวกับสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียน (คัดเลือกมาเป็นเเกนนำ อสม.น้อย)
    2. ประชุม ชี้แจงแบ่งหน้าที่ ให้แก่คณะทำงาน อสม.น้อย

    กลุ่มเป้าหมาย
    - นักเรียนชั้นป.5 จำนวน136 คน

    ไม่ใช้งบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. สำรวจสุขภาพฟัน
    รายละเอียด
    1. สำรวจสุขภาพฟันนักเรียนเบื้องต้น โดยอสม.น้อยและคุณครู
    2. แบบบันทึกการตรวจสุขภาพฟัน
    3. สำรวจสุขภาพฟันที่มีปัญหา จากทีมผู้เชี่ยวชาญจาก โรงพยาบาลละงู

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียน ทั้งหมด จำนวน 1071 คน จำนวน 27 ห้องเรียน

    งบประมาณ

    • เเบบบันทึกการเเปรงฟัน จำนวน 27 เล่ม เล่มละ 30 บาท เป็นเงิน 810 บาท
    งบประมาณ 810.00 บาท
  • 3. อบรมให้ความรู้นักเรียนเรื่องสุขภาพในช่องปาก
    รายละเอียด

    อบรมให้ความรู้นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 1- 6 เรื่องสุขภาพช่องปากในวัยเรียน

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียน ชั้น ป.1 - ป.6 จำนวน 790 คน

    งบประมาณ

    • ค่าวิทยากร 1 คน x 600 บาท x 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 790 คน x 25 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 19,750 บาท
    • ค่าไวนิลขนาด 2.0 ม. x 3.0 ม. x 250 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม 790 ชุด x 15 บาทเป็นเงิน 11,850 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 34,900 บาท

    กำหนดการ

    12.00 – 13.00น. ลงทะเบียน/เปิดโครงการ และทำแบบทดสอบ

    13.00 – 14.00น. ให้ความรู้เรื่องโรคที่พบบ่อยในช่องปาก ให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก

    14.00 -16.00 น. ฝึกทักษะการแปรงฟัน และการใช้อุปกรณ์ดูแลช่องปาก

    16.00 - 16.30 น. การตรวจสุขภาพช่องปาก หมายเหตุ 14.30 - 14.45 รับประทานอาหารว่าง

    งบประมาณ 34,900.00 บาท
  • 4. ฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธีตามช่วงวัย
    รายละเอียด
    1. ฝึกทักษะการแปรงฟันโดยการสาธิตการแปรงฟัน โดย อสม.น้อยและคณะครูผู้ดูแล
    2. นักเรียนทุกชั้นเเปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงทุกคน โดยมีเเกนนำ อสม.น้อยควบคุมดูเเล จดบันทึกการเเปรงฟันในทุกวัน

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียนทั้งหมด 1071 คน

    งบประมาณ

    ค่าอุปกรณ์สำหรับฝึกทักษะการแปรงฟัน

    • ค่ายาสีฟันหลอดใหญ่ ห้องละ1หลอด จำนวน 40 ห้อง x 50 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 2,000 บาท

    • โมเดลเเปรงใหญ่ , ชุดฟันปลอมใหญ่ 1 ชุด รวมเป็นเงิน 1,700 บาท

    • เเบบบันทึกการเเปรงฟัน (กระดาษ 2 รีม 2x 150=300 บาท) รวมเป็นเงิน 300 บาท

    งบประมาณ 4,000.00 บาท
  • 5. ส่งรักษาต่อโรงพยาบาล
    รายละเอียด
    • สำรวจสุขภาพช่องปากประจำเดือน ทุกๆ 1 เดือนเป็นเวลา 3 เดือนหลังจากการทำกิจกรรม ตรวจสรุปบันทึกการแปรงฟันโดย อสม.น้อย

    • กรณีที่มีฟันกรามเเท้ผุ ต้องส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อเข้ารับการรักษาต่อไป

    กลุ่มเป้าหมาย

    • นักเรียน จำนวน 1071 คนคนที่ฟันมีปัญหา

    งบประมาณ

    ไม่ใช้งบประมาณ

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. ประเมินผลและถอดบทเรียนจากกิจกรรม
    รายละเอียด

    ประเมินผลและ ถอดบทเรียน ร่วมกันโดยใช้แบบบันทึกการแปรงฟันมาถอดบทเรียน สรุปหาข้อปัญหา วิธีแก้ไขและดำเนินการต่อไป หลังจากจบสิ้นโครงการ

    กลุ่มเป้าหมาย
    - นักเรียน แกนนำอสม.น้อย จำนวน 136 คน
    - คูณครูผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 5 คน

    งบประมาณ

    • กระดาษบรู๊ฟ จำนวน 50 แผ่น คิดเป็นเงิน 300 บาท

    • ปากกาเมจิก จำนวน 2 แพ็ค แพ็คละ 120 บาท คิดเป็นเงิน 240 บาท

    วัน/เวลารายการผู้รับผิดชอบ วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 1 ของเดือน คัดเลือกแกนนำ อสม. น้อย นางพัณณิตา เอ็มดู นางสาวอัญชนา พ่อเหตุ วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 2 ของเดือน อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.น้อย+แจกแบบบันทึกการแปรงฟัน นางพัณณิตา เอ็มดู นางสาวอัญชนา พ่อเหตุ วันศุกร์ สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน ให้แกนนำ อสม.น้อย ออกมารายงานผล นางพัณณิตา เอ็มดู นางสาวอัญชนา พ่อเหตุ

    งบประมาณ 540.00 บาท
  • 7. รายงานผลโครงการ
    รายละเอียด

    กิจกรรมย่อย รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 2 ครั้ง

    รายละเอียดกิจกรรม

    • จัดทำเอกสารนำเสนอโครงการ จำนวน 2 ครั้ง

    • จัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการเมื่อเสร็จโครงการ

    งบประมาณ

    • ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผล จำนวน 4 เล่มๆละ 250 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท รวมเป็นเงิน 1,000 บาท
    งบประมาณ 1,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนสตูลศานติศึกษา

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 41,250.00 บาท

หมายเหตุ : งบประมาณสามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพฟันที่ดี
  2. เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กำแพง รหัส กปท. L8010

อำเภอละงู จังหวัดสตูล

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 41,250.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................