กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมตำบลชะรัด ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกงหรา ผู้รับผิดชอบ นางสาวพรภรัตน์ชา หอยสกุล
โรงพย่าบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวหรั่ง และ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด
ทต.ชะรัด

ตำบลชะรัด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน(คน)

 

35.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

60.00
3 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ

 

130.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

 

420.00
5 จำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น

 

150.00
6 จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)

 

56.00
7 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม

 

350.00
8 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

56.00
9 ร้อยละแผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล

 

8.00
10 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

120.00
11 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

50.00
12 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

 

50.00
13 ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

 

320.00
14 ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีการจัดพื้นที่พักผ่อน

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

120.00 200.00
2 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

50.00 100.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน

ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง

35.00 25.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล

จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น

56.00 65.00
5 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ

ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง

150.00 120.00
6 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

56.00 75.00
7 เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ

แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น

8.00 40.00
8 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

350.00 500.00
9 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น

60.00 150.00
10 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

130.00 200.00
11 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

420.00 300.00
12 เพื่อเพิ่มหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีการจัดพื้นที่พักผ่อน

ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีการจัดพื้นที่พักผ่อน

5.00 30.00
13 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความเครียดระดับปานกลางถึงมาก

320.00 200.00
14 เพื่อลดผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

ร้อยละของผู้สูงวัย อายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะซึมเศร้า

50.00 30.00
15 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับสภาพปัญหาของผู้สูงอายุ 2.เพื่อเสริมสร้างความมีคุณค่าในตนเอง ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีของผู้สูงอายุจากการเข้าร่วมกิจกรรม 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนวัยเดียวกัน 4. เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ 5. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และสามารถเขียนแผนการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมแก่ตนเองได้

1.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการตรวจคัดกรองและประเมินสุขภาพ ร้อยละ 100 2.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและฟื้นฟูให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ร้อยละ 60 3.ผู้สูงอายุที่มีความผิดปกติ มีทักษะการปฏิบัติตัว การดูแลสุขภาพ ร้อยละ 80 4.ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 85

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 05/02/2024

กำหนดเสร็จ 20/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุุ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้เพิ่มความสามารถ และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

**มหกรรมสร้างเสริมสุขภาพดี และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้สูงอายุ        - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 77 คน ๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 5,390.- บาท        -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 77 คน ๆละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,850.- บาท        -ค่าป้ายโครงการฯ เป็นเงิน 800.- บาท        -ค่าจ้างเหมาเวที และเครื่องเสียง 1,600.- บาท **กิจกรรมจัดบู้ทส่งเสริมอาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของชมรมผู้สูงอายุ        -วัสดุอุปกรณ์ในการจัดบู้ท เป็นเงิน 3,000.- บาท **กิจกรรมสันทนาการ และออกกำลังกายของผู้สูงอายุ   -การเล่นเกมส์   -กีฬาพื้นบ้านเชื่อมสัมพันธ์       -ค่าอุปกรณืออกกำลังกาย/กีฬา  เป็นเงิน 2,000.- บาท **กิจกรรมสัมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องปัญหา และการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ **ประกาศเกียรติคุณผู้สูงอายุต้นแบบ      -ค่าประกาศนียบัตรผู้สูงอายุต้นแบบพร้อมกรอบ จำนวน 3 ป้ายๆละ 200 บาท เป็นเงิน 600.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
5 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ระบบการดูแลผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความเข้มแข็งมากขึ้น
  2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี 3 .ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่อง
  3. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17240.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,240.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ระบบการดูแลผู้สูงอายุมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความเข้มแข็งมากขึ้น
2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์ สังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี
3 .ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการดูแลต่อเนื่อง
4. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น


>