กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขับเคลื่อนภูมิปัญญาพื้นบ้าน แพทย์แผนไทยตำบลชะรัด ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด

1.นางสุรีรัตน์ นุหงา
2.นางสุดา สรรนุ่ม
3.นายก้อหลัด บุญมี
4.นายกาศ เอียดหม้ง
5.นายหมีด โกหม้ง
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกงหรา ผู้รับผิดชอบ นางดวงพร ถวัลย์ชัยวัฒน์
โรงพยาบาลกงหรา ผู้รับผิดชอบ นางอัญชลี เหล็มปาน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวหรั่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด

ตำบลชะรัดอำเภอกงหรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

150.00
2 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

150.00 200.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

40.00 50.00
3 1.เพื่อให้หมอพื้นบ้านตำบลชะรัดมีความรู้ความเข้าใจการดูแลประชาชนด้านการแพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้าน 2.เพื่อให้ชมรมหมอพื้นบ้านตำบลชะรัดมีการขับเคลื่อนด้านการแพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้านและผ่านการรับรองจากกรมแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

ประชาชนตำบลชะรัด ได้รับการดูแล ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้าน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมขับเคลื่อนชี้แจงแนวทางรักษาสมุนไพรพื้นบ้าน/ แพทย์แผนไทยตำบลชะรัด

ชื่อกิจกรรม
ประชุมขับเคลื่อนชี้แจงแนวทางรักษาสมุนไพรพื้นบ้าน/ แพทย์แผนไทยตำบลชะรัด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการจัดประชุมขับเคลื่อนชี้แจงแนวทางรักษาสมุนไพรพื้นบ้านตำบลชะรัด จำนวน 25 คน ๆละ 2 มื้อ ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันในการจัดประชุมขับเคลื่อนชี้แจงแนวทางรักษาสมุนไพรพื้นบ้านตำบลชะรัด จำนวน 25 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 60 บาทเป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากรในการจัดประชุมขับเคลื่อนชี้แจงแนวทางรักษาสมุนไพรพื้นบ้านตำบลชะรัด จำนวน 2 ชม. ๆละ 600 บาทเป็นเงิน 1,200 บาท รวมเป็นเงิน จำนวน 3,700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. หมอพื้นบ้านในตำบลชะรัดมีใบรับรองหมอพื้นบ้าน ได้ขึ้นทำเนียบหมอพื้นบ้าน ร้อยละ 80
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3700.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกหน่วยจิตอาสาให้ความรู้เรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน แพทย์แผนไทยตำบลชะรัด/ ให้บริการนวดฝ่าเท้า พอกเข่า ในประชาชนทั่วไป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกหน่วยจิตอาสาให้ความรู้เรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน แพทย์แผนไทยตำบลชะรัด/ ให้บริการนวดฝ่าเท้า พอกเข่า ในประชาชนทั่วไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจนท./ ปราชญ์พื้นบ้านในการจัดประชุมออกหน่วยบริการนวดฝ่าเท้า/พอกเข่าประชาชนตำบลชะรัด จำนวน 30 คน ๆละ 2 มื้อ ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันจนท./ ปราชญ์พื้นบ้านในการจัดประชุมออกหน่วยบริการนวดฝ่าเท้า/พอกเข่าประชาชนตำบลชะรัด จำนวน 30 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าจัดทำป้ายไวนิล จำนวน 1 แผ่น ๆละ 300 บาทเป็นเงิน 300 บาท รวมเป็นเงิน จำนวน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนตำบลชะรัด ได้รับการดูแล ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย/แพทย์พื้นบ้าน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,700.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนในตำบลชะรัดเข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ / ปราชญ์พื้นบ้านในชุมชน
2.ปราชญ์พื้นบ้านในตำบลชะรัดมีใบรับรองหมอพื้นบ้าน ได้ขึ้นทำเนียบหมอพื้นบ้านร้อยละ 80


>