กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังจิตเวชในชุมชนตำบลวัดขวาง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขวาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขวาง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขวางหรือสถานที่อื่นๆ ตามความเหมาะสม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางกายและจิตใจ ซึ่งสงผลกระทบต่อสภาพสังคมอย่างมาก สุขภาพจิตเป็นสภาวะทางจิตใจ อารมณ์ ความคิด และความสามารถในการปรับตัวของบุคคล ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของระบบสุขภาพประเทศไทย โดยประมาณการว่าประชากร 1 ใน 5 มีปัญหาสุขภาพจิตจากรายงานสถิติของกรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุขพบว่าประเทศไทยมีผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการเริ่มต้นถึงรุนแรงร้อยละ 14.3 หรือ 7 ล้านคน โดยเป็นผู้ป่วยจิตเภทประมาณร้อยละ 0.8 หรือ 400,000 คน โรคซึมเศร้าประมาณร้อยละ 2.8 หรือ 1.4ล้านคน ในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปพบว่าอัตราการเข้าถึงบริการผู้ป่วยโรคจิตและโรคซึมเศร้ามีเพียงร้อยละ 50 และร้อยละ 33.34 ตามลำดับ ยิ่งไปกว่านั้นการเข้าถึงบริการจิตเวชเพื่อรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องในระบบบริการสุขภาพยังต่ำกว่าที่ควรจะเป็นถึงแม้ว่าจะมีความก้าวหน้าในการให้บริการสุขภาพจิตมากขึ้น
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขวาง ได้ทำการสำรวจในเขตพื้นที่ตำบลวัดขวางมีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชเพิ่มขึ้นทุกปี ปี 2564 จำนวน คน ปี 2565 จำนวน คน ปี2566 จำนวนคน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอีกในปีต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขวาง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังจิตเวชในชุมชนตำบลวัดขวาง เพื่อสร้างแกนนำในการดูแลสุขภาพจิตและสร้างเครือข่ายและการเชื่อมโยงในการส่งต่อในผู้ป่วยที่มีอาการทางสุขภาพจิตต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้แกนนำและญาติมีความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในการปฏิบัติตัวได้

แกนนำและญาติมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

0.00
2 เพื่อให้แกนนำได้แนวทางการดูแลผู้ป่วยและญาติตลอดจนสมาชิกในชุมชนใช้ชีวิตชุมชนร่วมกับผู้ป่วยแบบยอมรับซึ่งกันแลกัน

มีการติดตามแบบครบองค์รวม

0.00
3 เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในชุมชน

มีทีมเฝ้าระวังกรณีเกิดเหตุให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุในชุมชน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/12/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชให้กับแกนนำและญาติ จำนวน 50 คน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชให้กับแกนนำและญาติ จำนวน 50 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยจิตเวชให้กับแกนนำและญาติ จำนวน 50 คน
       - ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน  50  คน คนละ 60 บาท  จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 3,000  บาท        - อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 2,500 บาท        - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 2 คน ชั่วโมงละ 600 บาท คนละ 3 ชั่วโมง รวมเป็นจำนวน 6 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 3,600 บาท
       - ค่าวัสดุ ป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 360 บาท                     กระดาษบรุ๊ฟ จำนวน 24 แผ่น แผ่นละ  6  บาท   เป็นเงิน 144 บาท                    ปากกาลูกลื่น  จำนวน 50 ด้าม ด้ามละ 5 บาท  เป็นเงิน 250 บาท
                   ปากกาเคมี 2 หัว  จำนวน 24 ด้าม ด้ามละ 15  บาท  เป็นเงิน 360 บาท                   แฟ้มกระดุมพลาสติก A4 จำนวน 50 อัน อันละ 10  บาท  เป็นเงิน 500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำและญาติมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10714.00

กิจกรรมที่ 2 จัดตั้งทีมปฏิบัติการกรณีเกิดเหตุ ให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุ

ชื่อกิจกรรม
จัดตั้งทีมปฏิบัติการกรณีเกิดเหตุ ให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดตั้งทีมปฏิบัติการกรณีเกิดเหตุ ให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีทีมปฏิบัติการกรณีเกิดเหตุ ให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ติดตามเยี่ยมและการกินยาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามเยี่ยมและการกินยาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดเยี่ยมและการกินยาผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีการติดตามแบบครบองค์รวม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,714.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.แกนนำและญาติมีความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
2.มีการติดตามแบบครบองค์รวม
3.มีทีมเฝ้าระวังกรณีเกิดเหตุให้ช่วยเหลือหรือระงับเหตุในชุมชน


>