กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านโพธิ์

1.นางเสาวลักษณ์สิงหปรีชา ประธาน
2.นางสาวอำพันลำล่อง รองประธาน
3.นายวิเชียร คงเมืองรองประธาน
4.นายปรีชาพลวัฒน์เหรัญญิก
5.นางสุนีย์พันธุเลขานุการ

1.อบรมให้ความรู้ ณ ห้องประชุม อบต.บ้านโพธิ์2.ออกกำลังกาย ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.10 ต.บ้านโพธิ์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย

1.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายมากขึ้น

0.00
2 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถออกกำลังกายได้ด้วยตนเองโดยใช้ผ้าขาวม้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

2.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุสามารถออกกำลังกายได้ด้วยตนเองโดยใช้ผ้่าขาวม้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

0.00
3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และมีสุขภาพที่ดี

3.ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 18/01/2024

กำหนดเสร็จ 31/03/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 12 เมตร  จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 300 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 31 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1860 บาท 3.ค่าอาหารและเครื่องดื่ม จำนวน 31 คน  จำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1860 บาท 4.ค่าจัดทำเอกสารคู่มือ จำนวน 30 เล่มๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1500 บาท 5.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 5 ชม.ๆละ 600 บาท เป็นเงิน  3000 6.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 30 ชุดๆละ 70 บาท เป็นเงิน 2100 บาท   - กระเป๋าผ้าสกรีน ขนาด 1416 นิ้ว จำนวน 30 ใบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1800 บาท   - ปากกา จำนวน 30 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท   - สมุดปกอ่อน จำนวน 30 เล่มๆละ 5 บาท เป็นเงิน 150 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10620.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าตอบแทนผู้นำออกกำลังกาย จำนวน 12 ครั้งๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3600 บาท 2.ค่าผ้าขาวม้า จำนวน 31 ผืนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 3100 บาท 3.ค่ากล่องโฟม ขนาด 25 กก จำนวน 1 กล่องๆละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท 4.ค่าน้ำดื่ม ขนาด 600 มล จำนวน 60 โหลๆละ 40 บาท เป็นเงิน 2400 บาท 5.ค่าน้ำแข็ง จำนวน 24 กระสอบๆละ 40 บาท เป็นเงิน 960 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
18 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10360.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,980.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพร่างกายมากขึ้น
2.ผู้สูงอายุสามารถออกกำลังกายได้ด้วยตนเองโดยใช้ผ้าขาวม้าได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้และมีสุขภาพที่ดีขึ้น


>