กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ประธานอสม.ตำบลท่าบอน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน

นางจินดาเซ่งมาก

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนอำเภอระโนดจังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

4,462.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

4,462.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ อสม.สามารถใช้เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ในการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ

1.  อสม.สามารถใช้เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ในการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ

4462.00 1.00
2 2. เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

2.  ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

4462.00 1.00
3 3. เพื่อให้อสม.ได้มีความรู้การดูแล คัดกรอง ติดตามและดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น

ประชาชนได้รับความรู้โรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

4462.00 1.00
4 4. เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป 4,239 คน (ไม่รวมผู้ป่วย)ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ร้อยละ 80
4462.00 1.00
5 5 .เพื่อให้ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป(ไม่รวมผู้ป่วย) กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานซ้ำ

1.เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด ร้อยละ 100
2.อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง น้อยกว่าร้อยละ 10 ของผู้ป่วยทั้งหมด

4462.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 4,462
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2024

กำหนดเสร็จ 31/12/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ 1. ติดต่อประสานงานวิทยากรมาให้ความรู้ 2. จัดทำแผนและขออนุมัติจัดทำโครงการ ๓. เตรียมข้อมูล เอกสาร และ วัสดุอุปกรณ์ 4. สำรวจเครื่องวัดความดันโลหิต และเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด ที่มีสภาพพร้อมใช้งาน และชำรุด 5. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขประจ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นเตรียมการ 1. ติดต่อประสานงานวิทยากรมาให้ความรู้ 2. จัดทำแผนและขออนุมัติจัดทำโครงการ ๓. เตรียมข้อมูล เอกสาร และ วัสดุอุปกรณ์ 4. สำรวจเครื่องวัดความดันโลหิต และเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด ที่มีสภาพพร้อมใช้งาน และชำรุด 5. ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขประจ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมการจัดหาเครื่องมือในการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน -  ค่าวิทยากร จำนวน 2 คน จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท                        เป็นเงิน      1,800  บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 176 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท        เป็นเงิน      5,280  บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 × 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500บาท    เป็นเงิน         500  บาท - ค่าจัดทำเกียรติบัตรสี จำนวน 176 ใบ ๆ ละ 25 บาท                              เป็นเงิน     4,400  บาท  - แถบตรวจน้ำตาล  จำนวน  86  กล่อง    กล่องละ 830 บาท                        เป็นเงิน   71,380  บาท - ซื้อเข็มเจาะน้ำตาล (200 ชิ้น/กล่อง) จำนวน 22 กล่อง   กล่องละ 1,000 บาท                                                                                           เป็นเงิน   22,000  บาท


  1. กิจกรรมการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
      2.1 แบบบันทึกการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
    จำนวน 4,286 ชุด ชุดละ 2 บาท                          รวมเป็นเงิน  8,572  บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น   113,932บาท  (หนึ่งแสนหนึ่งหมื่นสามพันเก้าร้อยสามสิบสองบาทถ้วน)     หมายเหตุ  ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้ตามความเหมาะสม
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.  อสม.สามารถใช้เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ในการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.  ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตและโรคเบาหวาน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ

  1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย
  2. ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยง ร้อยละ 80
  3. เพื่อให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด ร้อยละ 100
  4. อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง น้อยกว่าร้อยละ 10 ของผู้ป่วยทั้งหมด
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
113932.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 113,932.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-อสม สามารถใช้เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ในการให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ
- ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
- ประชาชนที่เป็นกลุ่มเสี่ยง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม มีสุขภาพดี อัตราการเกิดโรคเรื้อรังลดลง


>