กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน

สำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน

องค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ (โครงการ)

 

15.00
2 จำนวนคณะกรรมการบริหารฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เรื่องความเข้าใจจุดมุ่งหมายกองทุน ประกาศ ระเบียบ และการทำโครงการด้านสุขภาพ (คน)

 

30.00
3 จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

 

10.00
4 ร้อยละของโครงการที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการภายในปีงบประมาณ

 

55.00
5 จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา)

 

5.00

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเอง ด้านสุขภาพและส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4)(8)(9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสนับสนุน ประสานและกำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องกัน เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนฯ รวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไร ดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ ตั้งแต่ปี 2557 จนถึงฉบับปี 2561 จึงออกแบบให้ อปท. ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ โดยมีทุนหรืองบประมาณที่เป็นการสมทบร่วมกันระหว่าง สปสช. กับ อปท. ที่เรียกว่า “กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่” เป็นเครื่องมือให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุนฯ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานอื่น องค์กรหรือกลุ่มประชาชน เพื่อให้บุคคลสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งเป็นการมุ่งเน้นให้กองทุนเป็นฐานในการดูแลสุขภาพให้กับชุมชน และเป็นทุนหนุนเสริมสร้างประโยชน์ด้านสุขภาพของประชาชนพื้นที่ โดยเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ
กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน อ.จะนะ จ.สงขลา ได้เล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนสุขภาพตำบลตลิ่งชัน ปี 2566 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ (คน)

15.00 37.00
2 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ (กลุ่ม/หน่วยงาน)

10.00 15.00
3 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี

จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ (โครงการ)

15.00 25.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา

ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น

45.00 60.00
5 เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ

5.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 55

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 1

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 1
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2567 อนุมัติแผนงานและโครงการ กิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ 24 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะอนุกรรมการ 18 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 450 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 24 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 18 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนงานและโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณ กองทุนสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16050.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2567 อนุมัติแผนงานและโครงการ กิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ 24 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะอนุกรรมการ 18 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 450 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 24 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 18 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนงาน/โครงการกิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ และรายงานการเงินประจำไตรมาส

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16050.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 3

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 3
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2567 อนุมัติแผนงานและโครงการ กิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ 24 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะอนุกรรมการ 18 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 450 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 24 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 18 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนงาน/โครงการกิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ และรายงานการเงินประจำไตรมาส

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16050.00

กิจกรรมที่ 4 ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 4

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุน ปี 2567 อนุมัติแผนงานและโครงการ กิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะกรรมการ 24 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะอนุกรรมการ 18 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 450 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 24 คนๆละ 400 บาท เป็นเงิน 9,600 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการกองทุน จำนวน 18 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 5,400 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนงาน/โครงการกิจกรรมตามแผนการเงินประจำปีงบประมาณ และรายงานการเงินประจำไตรมาส

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16050.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อกำหนดแผนการดูแลและพิจารณาสนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 325 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 13 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนการดูแล และได้สนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4225.00

กิจกรรมที่ 6 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อกำหนดแผนการดูแลและพิจารณาสนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 325 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 13 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 30 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนการดูแล และได้สนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4225.00

กิจกรรมที่ 7 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อกำหนดแผนการดูแลและพิจารณาสนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 325 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 13 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนการดูแล และได้สนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4225.00

กิจกรรมที่ 8 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 4

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 4
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเพื่อกำหนดแผนการดูแลและพิจารณาสนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 13 คนๆละ 25 บาท เป็นเงิน 325 บาท
  • ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการกองทุน จำนวน 13 คนๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3,900 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีแผนการดูแล และได้สนับสนุนงบบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4225.00

กิจกรรมที่ 9 ฝึกอบรมการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน ประจำงบประมาณ 2568

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน ประจำงบประมาณ 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีการเขียนโครงการ/กิจกรรม เพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน ประจำปีงบประมาณ 2568 มีค่าใช้จ่าย ดังนี้

  • ค่าเดินทาง (รถ)
  • ค่าที่พัก
  • ค่าตอบแทนวิทยากร
  • ค่ายานพาหนะเดินทางของวิทยากร
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  • ค่าอาหารกลางวัน
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม
  • ค่าเอกสารอบรม
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมได้ทราบวิธีการเขียนโครงการ/กิจกรรม เพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
65900.00

กิจกรรมที่ 10 จัดซื้อครุภัณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อครุภัณฑ์ วัสดุและอุปกรณ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการใช้งานในกองทุนฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กองทุนหลักประกันสสุขภาพ อบต.ตลิ่งชัน มีอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับการใช้งานในกองทุนฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 157,000.00 บาท

หมายเหตุ :
สามารถถั่วเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะกรรมการ อนุกรรมการกองทุน คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชันได้รับความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
2. คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ได้รับความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน
3. การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชันเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
4. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลิ่งชันมีแผนงานโครงการในการดำเนินงาน


>