กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการ อสม.ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันโรคที่สำคัญในพื้นที่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีสาคร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันโรคที่สำคัญในพื้นที่ ตำบลศรีสาคร อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส ปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศรีสาคร

กลุ่มหรือองค์กรประชาชนตั้งแต่ 5 คน

ชื่อองค์กร ชมรม อสม.ตำบลศรีสาคร
กลุ่มคน (ระบุ ๕ คน)
๑…นายแวหะมะโต๊ะแวหะยี
๒…นายอาหามะเปาะสา
๓…นายสำสูดิง อาแว
๔…นายอาหามัดสาเม๊าะ
๕…นางซอเดาะวาแวนิ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการพัฒนาด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตที่ดี เกิดความทั่วถึง เท่าเทียมของประชาชนทุกคน โดยให้ประชาชนได้รับรู้สถานะของตนเองและเข้าถึงการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และได้กำหนดให้ดำเนินการพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยให้มีความครอบคลุมในมิติทางด้านสุขภาพทั้ง ๔ มิติ คือ มิติด้านการป้องกันโรคการส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสภาพ เน้นให้เกิดการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสุขภาพ จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความเคยชินให้เป็นพฤติกรรมที่ลดเสี่ยงต่อการเกิดโรค และลดโรคที่เป็นแล้วให้เป็นน้อยลง หรือหายเป็นปกติ โดยเฉพาะ ๓ อ คือ อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ และ ๒ ส คือ ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา เป็นการ “ปรับก่อนป่วย” เพราะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตการส่งเสริมสุขภาพจึงเน้นให้ “ประชาชนสุขภาพดี เริ่มต้นที่สร้างนำซ่อม” โดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้เป็นพลังชุมชนที่สำคัญในการเป็นผู้นำ เป็นต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Change Agent) โดยมีบทบาทที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะด้านสุขภาพให้แก่คนในชุมชน โดยมีเป้าหมายในการเป็น “คู่หูสุขภาพ (Buddy Healthy)” ร่วมรู้สถานะสุขภาพ ร่วมปรับพฤติกรรม ต้านภัยโรคเบาหวานแลความดันโลหิตสูง อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ได้รับการพัฒนาจากหลักการและกลวิธีสาธารณสุขมูลฐาน โดยเน้นหลักการมีส่วนร่วม คือ ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมประเมินผลสำเร็จ และปัจจุบันพบว่า อสม.ได้รับการฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะด้านสุขภาพ สามารถเป็นนักสื่อสารสุขภาพ เป็นต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถถ่ายทอดความรู้ทักษะด้านสุขภาพให้กับบุคคลอื่น ๆ ในชุมชนได้ อีกทั้งมีการบริหารจัดการองค์กรในรูปแบบของ ชมรม อสม. ตั้งแต่ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด เขต ภาค และประเทศ
ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และส่งเสริมการมีสุขภาพที่ดีของประชาชนในตำบลศรีสาคร จึงได้จัดทำโครงการ อสม.ร่วมมือ ร่วมใจ ป้องกันโรคที่สำคัญในพื้นที่เพื่อให้ทุกคมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ อันนำไปสู่ การลดเสี่ยง ลดโรค ได้อย่างยั่งยืนสืบไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ ประชาชนมีสุขภาพดี ห่างไกลโรค มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ประชาชน มีสุขภาพดีและมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคทีสำคัญ ระดับดีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐

0.00
2 ๒ ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพเบื้องต้น ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟู โดยใช้กลไกของอาสาสมัครสาธารณสุข

ลดการเกิดโรคที่สำคัญในพื้นที่เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ร้อยละ ๒๐

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 02/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑.อบรมให้ความรู้ ๑.๑ อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงของโรค เพื่อพัฒนาความองค์ความรู้ด้านสุขภาพ แบ่งเป็น ๖ รุ่นๆละ ๕๐ คน

ชื่อกิจกรรม
๑.อบรมให้ความรู้ ๑.๑ อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงของโรค เพื่อพัฒนาความองค์ความรู้ด้านสุขภาพ แบ่งเป็น ๖ รุ่นๆละ ๕๐ คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.อบรมให้ความรู้         ๑.๑ อบรมให้ความรู้ให้กับกลุ่มประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงของโรค เพื่อพัฒนาความองค์ความรู้ด้านสุขภาพ แบ่งเป็น ๖ รุ่นๆละ ๕๐ คน  -ค่าอาหารกลางวัน 50 บ. X ๓๐๐ คน
= ๑๕,๐๐๐  บ. -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.
X ๓๐๐ คน X ๒ มื้อ = ๑๕,๐๐๐  บ. -ค่าวิทยากร  ๑ คน X ๓ ชั่วโมง X ๖๐๐ บาท   X ๖ วัน        = ๑๐,๘๐๐  บ. รวม ๔๐,๘๐๐ บาท  ๒ มค. ๖๗ ถึง ๓๑ พค. ๖๗

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 มกราคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40800.00

กิจกรรมที่ 2 ๒. อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง อสม. ด้วยกัน

ชื่อกิจกรรม
๒. อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง อสม. ด้วยกัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๒. อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้     ๒.๑ อบรมเพิ่มพูนความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง อสม. ด้วยกัน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๒๕ บ.
X ๘๙ คน X ๒ วัน  = ๔,๔๕๐  บ. -ค่าครุภัณฑ์ทางการแพทย์   -เครืองวัดความดัน  ๕ เครื่อง X ๒,๐๐๐  = ๑๐,๐๐๐  บ. รวม ๑๔,๔๕๐ บาท  ๑ มิย. ๖๗ ถึง ๓๐ กย. ๖๗

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 55,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>