กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนาศักยภาพตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รพ.สต.บ้านสูงเนิน ปี2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินยาง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน รพ.สต.บ้านสูงเนิน ปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เนินยาง

รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลสูงเนิน

รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสูงเนิน

รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสูงเนิน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

 

100.00
2 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพ

 

100.00
3 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการเพื่อการดำรงชีพในช่วงวิกฤตของโรคอุบัติใหม่

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

100.00 100.00
2 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพิธีต่าง ๆ มาตรการที่กักกันในชุมชน (Local Quarantine – LQ) มาตรการแยกกักในชุมชน (Home Isolation – HI) เป็นต้น

100.00 100.00
3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการเพื่อการดำรงชีพในช่วงวิกฤตของโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการเพื่อการดำรงชีพในช่วงวิกฤตของโรคอุบัติใหม่

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้นำชุมชน อสม.บุคลากรทางการศึกาษ 100

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 31/05/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ภาคีเครือข่ายมีการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุโรคที่เข็มแข็ง
2.แกนนำตำบลมีความพร้อมในการดูแล เฝ้าาระวัง และควบคุมโรคในชุมชน
3.อัตราการป่วยของโรคระบาดในชุมชนลดลง


>