กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้อย
กลุ่มคน
นางณัฏฐา ขุนทวี
3.
หลักการและเหตุผล

จากการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ส่งผลให้วิถีชีวิตประชากรไทย เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้รูปแบบการเจ็บป่วยเปลี่ยนจากโรคติดต่อเป็นโรคไม่ติดต่อเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่พบมากที่สุดคือ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปัจจัยที่เชื่อว่าเป็นสาเหตุหลักของโรคเรื้อรัง คือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารหวานจัด เค็มจัด มากเกินกว่าสัดส่วนที่ร่างกายควรได้รับใน 1 วัน ไม่รับประทานผักผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตสะดวกสบายเกินไป ไม่ค่อยมีกิจกรรมทางกาย การสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น โดยอาการและอาการแสดงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดขึ้นได้ช้า เนื่องจากมีระยะการดำเนินโรคที่ยาวนาน การก่อตัวของโรค จึงเกิดขึ้นทีละน้อย และมักเกิดในวัยผู้ใหญ่โดยเฉพาะอายุ 40 ปีขึ้นไป เมื่อประชาชนเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว การรักษาให้หายขาดเป็นไปได้ยาก และเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือความพิการได้ง่าย ซึ่งปัญหาของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงนอกจากจะทำให้สูญเสียสภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ ค่าใช้จ่าย และระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนานยังสามารถส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจสังคม และความมั่นคงของชาติอีกด้วย ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน จึงมีนโยบายในการสร้างสุขภาพนำซ่อมเพื่อแก้ปัญหา โรคเรื้อรังโดยเน้นการคัดกรองสุขภาพเพื่อให้สามารถค้นหาประชากรกลุ่มเสี่ยงได้คลอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรม เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ และสามารถค้นหาประชากรกลุ่มสงสัยรายใหม่ได้อย่างรวดเร็ว ทำให้กลุ่มสงสัยรายใหม่ได้รับการวินิจฉัยโรค และรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์ ได้อย่างทันท่วงทีเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคและการลดอัตราการตายที่อาจเกิดขึ้น จากสถานการณ์การคัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังของตำบลบ้านน้อย ปีงบประมาณ 2562 -2564 พบว่า มีอัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จาก กลุ่มเสี่ยงเบาหวานร้อยละ 0.67, 0.89 และ 2.63 ตามลำดับ อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จาก โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 2.48 , 4.72 และ 3.61ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งปัญหาระหว่างการคัดกรอง พบว่า มีผู้ป่วยบางกลุ่มไม่ได้รับการคัดกรองโรคเรื้อรังในปีที่ผ่านๆ มา โดยมีสาเหตุที่แตกต่างกัน เช่น บางรายไม่ทราบว่ามีการคัดกรองโรคเรื้อรัง บางรายไม่สมัครใจเข้ารับการคัดกรองเนื่องจากไม่มีอาการผิดปกติบางรายไม่เห็นถึงความสำคัญของการคัดกรองบางรายอยู่นอกพื้นที่ในช่วงที่มีคัดกรอง ทำให้พลาดโอกาสในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และมาค้นพบในระยะปรากฏอาการหรือระยะที่เป็นกลุ่มป่วยไปแล้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงจัดทำโครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตขึ้น เพื่อให้เกิดการคัดกรองโรคเรื้อรังที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุม นำไปสู่การกำหนดรูปแบบกิจกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองของกลุ่มเสี่ยง เพื่อลดอัตราป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคทางเมตาบอลิคอย่างน้อยร้อยละ90
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มสงสัยรายใหม่ ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด :
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1 คัดกรองความเสี่ยงโรคเรื้อรังด้วยวาจาและตรวจสุขภาพเบื้องต้น ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิต ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยเจ้าหน้าที่ และ อสม.
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 1,500.00 บาท
  • 2. ดำเนินการเจาะน้ำตาลปลายนิ้วในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวานโดยเจ้าหน้าที่และ อสม.
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. จำแนกผลการคัดกรองสุขภาพ โดยแบ่งเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยรายใหม่
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้หลัก 3อ.2ส. เช่น ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยงต่อโรค และภาวะแทรกซ้อน, อาหารและโภชนาการที่เหมาะสมในชีวิตประจำวัน,
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 12,050.00 บาท
  • 5. ตรวจซ้ำผู้ที่มีระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอทและระดับน้ำตาล ในเลือดมากกว่า 100 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 6. ส่งต่อผู้ที่มีภาวะผิดปกติให้ได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 7. สรุปผลการคัดกรองและคืนข้อมูลสถานสุขภาพของชุมชนผ่านเวทีการประชุมหมู่บ้าน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 13 ธันวาคม 2566 ถึง 15 สิงหาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่1- หมู่ที่6 ตำบลบ้านน้อย

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 13,550.00 บาท

หมายเหตุ : 1.ถ่ายเอกสารแบบคัดกรองด้วยวาจา จำนวน1500ชุด ๆละ 1 บาท จำนวน 1500ชุดเป็นเงิน1,500.- บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน ( 1 มื้อ )อาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 2 มื้อ ) ในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงจำนวน 80คน ๆละ100.-บาท เป็นเงิน 8,000.-บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600.- บาท 4. ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1* 3 เมตรเป็นเงิน 450.- บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 13,550.- บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีในเขตตำบลบ้านน้อยได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานแความดันโลหิตสูง อย่างมีประสิทธิภาพและรับทราบสถานสุขภาพของตนเอง
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีในเขตตำบลบ้านน้อยที่มีผลการคัดกรองที่ผิดปกติได้รับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้อง 3.สามารถค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ได้อย่างครอบคลุมและส่งต่อเพื่อได้รับการวินิจฉัยและรักษาจากแพทย์ได้อย่างทันท่วงที
  3. อุบัติการณ์หรือความชุกของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย รหัส กปท. L3474

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 13,550.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................