กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนรัง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานลดมันลดเค็ม ปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนรัง

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง

นายณรงค์บุญถูก
นางขัติยาภรณ์เหนือเกาะหวาย
นางลักษณาภรณ์บุญโกศล
นางสาวตติยาบุญแท้
นางสาวนงค์ลักษณ์ทับทิมหิน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโนนรัง อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

 

70.00
2 ร้อยละของประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

50.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

 

50.00
4 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

50.00
5 เนื่องด้วยภาวะที่เร่งรีบจากกระแสการพัฒนาในยุคปัจจุบัน สภาวะการเติบโตทางเศรษฐกิจของลัทธิวัตถุนิยม ที่มุ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาทางด้านวัตถุ เอาเงินเป็นตัวตั้ง การดำเนินธุรกิจที่ขาดความรับผิดชอบ ผู้ผลิตไม่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบและคุณค่าทางโภชนาการ

 

70.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

50.00 30.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง

50.00 25.00
3 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

70.00 60.00
4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง

50.00 20.00
5 ๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหารตามช่วงวัย ๒.เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๔.เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานมันเค็ม

๑.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร ๒.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง           ๔.มีเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินลดหวานมันเค็ม

0.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 25
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม

ชื่อกิจกรรม
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จำนวน ๑๕,๐๐๐ บาท(หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน) รายละเอียด ดังนี้ - ค่าอาหารกลางวัน ๒ มื้อๆละ ๕๐ บาท x ๗๕  คน                             เป็นเงิน  ๗,๕๐๐  บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ๔ มื้อ ๆละ ๒๕ บาท x ๗๕ คน                   เป็นเงิน   ๗,๕๐๐ บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๕,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นห้าพันบาทถ้วน

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหารตามช่วงวัย ๒.เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.เพื่อลดอัตราการป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง    ๔.เพื่อสร้างเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวานมันเค็ม ผลคาดว่าจะได้รับ ๑.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร ๒.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม ๓.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง           ๔.มีเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินลดหวานมันเค็ม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑.ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ในการบริโภคอาหาร
๒.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารรสหวาน รสมัน รสเค็ม
๓.ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
๔.มีเครือข่ายในการทำงานประชากรกลุ่มตัวอย่างในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินลดหวานมันเค็ม


>