กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการห่วงใย สร้างเสริมสุขภาพเด็กด้อยโอกาสประจำปี2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ

องค์การบริหารส่วนตำบลลาโละ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พระราชบัญญ้ติคุ้มครองเด็ก พ.ศ ๒๕๔๖ ได้ให้ความหมายของคำว่า เด็ก หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุตํ่ากว่า สิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรสและคำว่าเด็กด้อยโอกาส หมายถึง เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลำบาก เนื่องจากประสบปัญหาต่างๆในชีวิตความเป็นอยู่ด้อยกว่าเด็กปกติทั่วไป ขาดโอกาสหรือไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับพัฒนาทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีพัฒนาการที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรรลุถึงศักย์ภาพขั้นสูงสุดได้
ดังนััน องค์การบริหารส่วนตำลลาโละ ได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเด็กด้อยโอกาสในตำบลให้ดีขึ้น และครอบคลุมทุกพื้นที่ของตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
กลุ่มวัยทำงาน 123
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 31/03/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่เด็กด้อยโอกาส และผู้ดูแล

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่เด็กด้อยโอกาส และผู้ดูแล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วันที่ 1.การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาด้านสุขอนามัย ของเด็กด้อยโอกาส” งบประมาณ 1. ค่าอาหารเย็น 1 มื้อๆละ 65 บาท X 246 คน เป็นเงิน 15,990 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25บาทX 246 คน เป็นเงิน 6,150 บาท 3.ค่าวิทยากร 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท ป้ายไวนิว ขนาด 1.5*2.4เมตร 1,260 บาท รวมป็นเงิน25,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กด้อยโอกาสและผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้านสุขอนามัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25200.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แนวทางในการพัฒนาจิตใจตามหลักคำสอนทางศาสนาและการอยู่ในสังคม

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แนวทางในการพัฒนาจิตใจตามหลักคำสอนทางศาสนาและการอยู่ในสังคม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วันที่ 2. อบรมให้ความรู้แนวทางในการพัฒนาจิตใจตามหลักคำสอนทางศาสนาและการอญุ่ในสังคม งบประมาณ 1. ค่าอาหารเย็น 1 มื้อๆละ 65 บาท X 246 คน เป็นเงิน 15,990 บาท 2.ค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 25บาทX 246 คน เป็นเงิน 6,150 บาท 3.ค่าวิทยากร 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท  รวมป็นเงิน  23,940 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กด้อยโอกาสและผู้ดูแลมีความรู้ในหลักคำสอนของศาสนาและการอยู่รวมในสังคมได้ดี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
23940.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,140.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กด้อยโอกาสและผู้ดูแลมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ
2.เด็กด้อยโอกาสสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้
3.สามารถสร้างขวัญและกำลังใจแก่เด็กโอกาสและผู้ดูแล


>