กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยกายภาพบำบัด ครั้งที่ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

แผนกกายภาพบำบัด โรงพยาบาลสุไหงปาดี

เขตพื้นที่เทศบาลตำบลปะลุรู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เนื่องจากสังคมไทยในปัจจุบันกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุและเข้าสู่ยุคการทำงานเพื่อดำเนินการประกอบอาชีพเพื่อประทานชีวิต และเลี้ยงดูครอบครัว ประชาชนส่วนใหญ่ในอำเภอ สุไหงปาดี เทศบาลตำบลปะลุรู มีอาชีพกรีดยางซึ่งมีลักษณะงานก้มๆเงยซึ่งเป็นสาเหตุหลักในการเกิดอาการปวดหลัง อาชีพรองต่อมาเป็นอาชีพก่อสร้าง ในผู้ชายที่เป็นวัยทำงานหรือในกลุ่มหัวหน้าครอบครัว ซึ้งมีลักษณะงานแบบต้องใช้แรง ยก แบกเป็นต้อง ซึ่งทำให้เป็นปัญหาทำให้เกิดอาการปวดหลัง และเมื่อเข้าวัยผู้สูงอายุ แคลเซียมจะลดลงซึ่งเสียงต่อการหกล้มในชีวิตประจำวันได้ อีกทั่งประชาชนส่วนใหญ่ด้อยการศึกษา ด้อยความรู้ และยังเข้าถึงสาธารณะสุขไม่ถึง และยังขาดความรู้การปฏิบัติการทางร่างกายที่ถูกต้อง อีกอย่างยังขาดความรู้ทางกายภาพบำบัด
กายภาพบำบัด เป็นวิชาชีพทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งในแง่ส่งเสริม, ป้องกัน, รักษา และฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ โดยวิธีตามหลักวิทยาศาสตร์ และเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางกายภาพบำบัดเช่นการออกกำลังกายเพื่อการรักษา, การรักษาด้วยการดัด – ดึง, การใช้เครื่องไฟฟ้า, ความร้อน – ความเย็นในการรักษาโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพและมีความสามารถในการทำงานของร่างกายอย่างเต็มที่ จากประสบการณ์การทำงานศูนย์ดูแลผู้สูงอายุและการทำงานโรงพยาบาลสุไหงปาดี ผู้ป่วย 85% หายจากอาการปวดเนื่องจากได้รับการรักษาทางกายภาพบำบัด
โครงการนี้เป็นการร่วมกลุ่มของนักกายภาพบำบัดโรงพยาบาลสุไหงปาดีเพื่ออยากให้สุขภาพของผู้สูงอายุดีขึ้นและสามารถให้ประชาชนมีความรู้เกี้ยวกับโรคและวิธีการจัดการหรือการบริหารทางกายภาพบำบัดบัดที่ถูกต้อง อีกทั้งประชาชนที่มีความจำเป็นที่จะต้องรักษาทางกายภาพบำบัดได้รักการรักษาต่อเนื่องเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตกับผู้ป่วยและประชาชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ทางกายภาพบำบัดเพิ่มขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ทางกายภาพบำบัดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

50.00 50.00
2 เพื่อประชาชนที่ได้รับการบาดเจ็บจากการทำงานได้รับการรักษาต่อที่ โรงพยาบาล

ประชาชนที่ได้รับการบาดเจ็บจากการทำงานได้รับการรักษาต่อที่ โรงพยาบาล ร้อยละ 80

50.00 50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 31/07/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ทำแบบทดสอบวัดความรู้ก่อนการอบรมและทำแบบทดสอบวัดความรู้หลังการอบรม

ชื่อกิจกรรม
ทำแบบทดสอบวัดความรู้ก่อนการอบรมและทำแบบทดสอบวัดความรู้หลังการอบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรค

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ * 50 คน50 บ. เป็นเงิน 2,500 บ. 2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 25 บ. * 50 คน
เป็นเงิน 2,500 บ. 3.ค่าวิทยากร 1 คน
6 ชม.ๆละ 300 บ. เป็นเงิน 1,800 บ. 4.ค่าไวนิลขนาด 1 X 3 เมตร เป็นเงิน  750 บาท 5. ค่าวัสดุในการจัดอบรม    -  ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร 50 * 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท    -  ค่าสมุด  50 เล่ม * 10  บาท  เป็นเงิน 500 บาท    -  ค่าปากกา 50 ด้าม  * 5 บาท   เป็นเงิน 250 บาท    -  ค่าป้ายไวนิล 1 * 3 เมตร  เป็นเงิน 750 บาท    -  ค่าแผ่นยางยืด 50 แผ่น * 150 บาท   เป็นเงิน 7,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18300.00

กิจกรรมที่ 3 นัดการรักษาต่อเนื่องในรายที่จำเป็นต้องรักษา

ชื่อกิจกรรม
นัดการรักษาต่อเนื่องในรายที่จำเป็นต้องรักษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ทางกายภาพบำบัดเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2. ประชาชนที่ได้รับการบาดเจ็บจากการทำงานได้รับการรักษาต่อที่ โรงพยาบาล ร้อยละ 80


>