กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการทำน้ำมันเหลืองจากสมุนไพรเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 3 ประจำปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน

กลุ่มสมุนไพรแพทย์แผนไทยเพื่อสุขภาพด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลดอน

1. นางศุภรากรณ์ศิริรักษ์
2. นางนิตยามาอินจร
3. นางบูรณ์เกลี้ยงสีพรม
4. นางเยาวลักษณ์ชูจิตร์
5. นางสาวสุคนธาศรีลาภเกื้อ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ด้วยชุมชนบ้านดอนเป็นแหล่งที่มีทรัพยากรด้านการเกษตรและพืชสมุนไพรที่สำคัญพอสมควร ซึ่งประชาชนในพื้นที่เห็นด้วยอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้มีการนำสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาพัฒนาให้มีศักยภาพมากขึ้นในการนำสารสกัดจากพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์หรือแปรรูปให้เป็นสารสกัดมาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเช่น เครื่องสำอาง ยาสมุนไพร ประเภทสูดดม พิมเสนน้ำ ยาหม่อง ยาดม น้ำมันเหลือง ประเภทผลิตภัณฑ์กันยุงหรือใช้เป็นส่วนผสมในการทำผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพในรูปแบบต่างๆ ให้มีสรรพคุณและคุณสมบัติที่ดีตามต้องการและปลอดภัยจากสารพิษตกค้าง ดังนั้นประชาชนบ้านดอน หมู่ที่ 3 ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการนำพืชสมุนไพรในพื้นที่ที่สามารถนำมาเป็นสารสกัดได้ ซึ่งจะส่งผลทั้งในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ให้ดีขึ้นและยังสามารถนำความรู้ที่ได้มาต่อยอดเป็นอาชีพเสริม เพื่อสร้างรายได้ให้กับชุมชนและคนในครอบครัวอีกด้วย จึงได้จัดทำโครงการอบรมจัดทำยาหม่องเพื่อสุขภาพ น้ำมันเหลืองขึ้น เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื่อจัดกิจกรรมและดำเนินการต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรพื้นบ้านและสามารถน้ำไปประยุกต์ใช้ได้

ร้อยละ 70 ของประชากรในหมู่ที่ 3 ที่เข้าร่วมโครงการมี ความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรพื้นบ้าน

0.00
2 ๒ เพื่อลดการใช้ยาแผนปัจจุบัน หันมาใช้สมุนไพรไทยแทน

ร้อยละ 70 ของประชากรในหมู่ที่ 3 ที่เข้าร่วมโครงการสามารถปรับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ใช้ยาสมุนไพรไทยแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันได้

0.00
3 3 เพื่อส่งเสริมและอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาไทย และสร้างรายได้เสริมให้แก่ตนเองและครอบครัว

ร้อยละ 60 ของประชากรในหมู่ที่ 3 ที่เข้าร่วมโครงการเกิดการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาไทย และสร้างรายได้เสริมให้แก่ตนเองและครอบครัว

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ 25
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 06/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนสามารถส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพด้านการใช้พืชสมุนไพรในชีวิตประจำวัน
2. สามารถใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามปรัชญาเศษฐกิจพอเพียงชุมชนพึ่งตนเอง
3. สามารถสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นพืชสมุนไพรในชุมชน


>