กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
3.
หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล ในสถานการณ์ปัจจุบันผลิตภัณฑ์สุขภาพ ซึ่งได้แก่ อาหาร ยา เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีทั้งที่มีการขออนุญาตถูกต้องตามกฎหมายและไม่ได้รับอนุญาต เช่น ปัญหาการลักลอบใส่สารอันตรายในผลิตภัณฑ์ ปัญหาสถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่ผ่านเกณฑ์ การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผล ปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศเพื่อนบ้านที่ลักลอบนำเข้ามาจำหน่าย ร้านชำจำหน่ายยาอันตราย ซึ่งอาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในผู้บริโภคได้ รวมทั้งปัจจุบันมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ทำให้ผู้บริโภคมีโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากขึ้น ซึ่งข้อมูลดังกล่าวมีทั้งที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษ หากผู้บริโภคมีความรู้ที่ไม่ถูกต้อง จากการตรวจสอบเฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพในเขตอำเภอเจาะไอร้อง ในปี 2565 และ 2566 พบว่า ปี 2565 ร้านชำมีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน จำนวน 8 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 86 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 9.30 และปี 2566 ร้านชำมีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน จำนวน 8 ร้าน จากร้านชำทั้งหมด 145 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 5.52 ได้ประเมินความรู้ความเข้าใจในด้านการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ ผลการประเมินพบว่า ผู้ประกอบการร้านชำไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องในปี 2565 จำนวน 41 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 41.67 และในปี 2566 จำนวน 61 ร้าน คิดเป็นร้อยละ 42.01
จากข้อมูลในภาพรวมอำเภอเจาะไอร้องดังกล่าวยังพบร้านชำในพื้นที่ ต.จวบ ที่มีการจำหน่ายยาอันตรายและยาชายแดน คิดเป็นร้อยละ 7.14 และผู้ประกอบการร้านชำในพื้นที่ไม่มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 39.29 และทั้งนี้พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ดำเนินการชี้แจงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ประกอบ การรับทราบและถือปฏิบัติ ทั้งนี้การดำเนินการควบคุม ตรวจสอบ เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพในพื้นที่เจาะไอร้องดังกล่าว ต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายภาคประชาชน อาทิเช่น ผู้นำท้องถิ่น นักเรียน ผู้ประกอบการด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ อสม. ประชาชนผู้บริโภค และภาคีเครือข่ายภาครัฐ ได้แก่ สสจ. อปท. ด่านศุลกากร ตำรวจ โดยภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาคีเครือข่ายภาครัฐมีความสำคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อนงานคุ้มครอง
ผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุขในระดับพื้นที่ให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ดังนั้น กลุ่มงานเภสัชกรรมและคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลเจาะไอร้อง ได้เห็นความสำคัญของความปลอดภัยทางด้านอาหาร ยา และผลิตภัณฑ์สุขภาพในเขตพื้นที่ ต.จวบ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาร้านชำปลอดยาอันตรายและยาชายแดน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข และพัฒนาร้านชำในเขตพื้นที่ ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. พัฒนาร้านชำสู่ร้านชำสีขาว
    ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการร้านชำมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง ร้อยละ 80
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของเครือข่ายในการกระจายความรู้เข้าถึงชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์ร้านชำสีขาว มากกว่าร้อยละ 10
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้มีใช้ยา อย่างสมเหตุผลในชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผักผลไม้ เครื่องสำอาง ยา สมุนไพรกลุ่มเสี่ยงไม่พบการปลอมปน มากกว่าร้อยละ 90
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1.ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงานและ อสม.
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 1 มื้อๆละ 60 บาท x 30 คน x 3 ครั้ง = 5,400 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท x 30 คน x 3 ครั้ง  = 2,250 บาท
      รวมเป็นเงิน 7,650.- บาท
    งบประมาณ 7,650.00 บาท
  • 2. กิจกรรมลงพื้นที่ร้านชำ
    รายละเอียด

    -ค่าอาหารว่างจำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท x 30 คน x 3 ครั้ง = 2,250 บาท
    -ค่าป้ายไวนิลขนาด 1.2 x 2.4 เมตร จำนวน 1 ป้าย= 720 บาท -ค่าโปสเตอร์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพขนาด A3 จำนวน 100 แผ่น x40 บาท = 4,000 บาท - ค่าโฟมบอร์ดร้านชำสีขาว จำนวน 10 แผ่น 35 บาท = 350 บาท รวมเป็นเงิน 7,320.- บาท

    งบประมาณ 7,320.00 บาท
  • 3. กิจกรรมตรวจสอบเฝ้าระวังร้านชำ
    รายละเอียด
    • ค่าชุดทดสอบสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณเป็นเงิน 2,800 บาท
    • ค่าชุดทดสอบสารห้ามใช้ในเครื่องสำอาง เป็นเงิน 2,375 บาท
    • ค่าชุดทดสอบอย่างง่าย (Test kits) ราคา 8,062 บาท รวมเป็นเงิน 13,237.- บาท
    งบประมาณ 13,237.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 28,207.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. ประชาชนในพื้นที่ ต.จวบ ได้รับความปลอดภัยในการบริโภคผลิตภัณฑ์
  2. เกิดร้านชำต้นแบบให้แก่ร้านชำในพื้นที่ ต.จวบ อ.เจาะไอร้อง
  3. เกิดเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อแก้ไขปัญหาตามสภาพพื้นที่ของ ต.จวบ
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ รหัส กปท. L8422

อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 28,207.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................