กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ เพื่อต้านโรคภัย ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ (อบต.กาวะ) อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามหลักของการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของประชาชนถือเป็นสำคัญ การประกอบอาหารถือเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน ที่นอกจากรสชาติที่ดี ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหาร เพราะหากอาหารนั้นมีสิ่งแปลกปลอม อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ปัจจุบันประชาชนหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น การที่จะให้ประชาชนในพื้นที่ มีสุขภาพที่ดีไม่เจ็บป่วย เป็นสิ่งที่หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง ควรให้การสนับสนุน ดูและ เฝ้าระวัง และป้องกันให้ประชาชนได้ร้บประทานอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่าส่วนใหญ่การบริโภคอาหารขอประชากรในพื้นที่จะปรุงอาหารตามใจชอบ จะเน้นรสจัด เป็นสำคัญ ทำให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรค เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคอ้วน ไขมันในเลือด เป็นต้น ดังนั้นผู้ประกอบอาหารควรตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่คุณค่าทางโภชนาการและมีการปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย เน้นการปรุงอาหารแบบ ต้ม นึ่ง ย่าง หรือ อาหารคลีน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ ได้เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการปรุงอาหารที่ถูกต้อง ปลอดภัย ถูกหลักโภชนาการ และสุขาภิบาล ลด หวาน มัน เค็ม จึงได้เสนอโครงการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ เพื่อต้านโรคภัย ปีงบประมาณ 2567

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี

 

60.00 80.00
2 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและดีต่อสุขภาพ

 

60.00 80.00
3 3. เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น

 

60.00 80.00

1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนให้ความสำคัญการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและดีต่อสุขภาพ
3. เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2002

กำหนดเสร็จ 31/05/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมโครงการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ เพื่อต้านโรคภัย ปีงบประมาณ 2567

ชื่อกิจกรรม
อบรมโครงการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ เพื่อต้านโรคภัย ปีงบประมาณ 2567
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมบรรยายให้ความรู้ โครงการบริโภคอาหารถูกหลักโภชนาการ เพื่อต้านโรคภัย ปีงบประมาณ 2567 จำนวน 250 คน

- ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 250 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 12,500 บาท - ค่าอาหาร อาหารกลางวัน จำนวน 250 คน x 1 มื้อ x 50 บาท เป็นเงิน 12,500 บาท - ค่าวัสดุอบรมโครงการ จำนวน 250 คน x 30 บาท เป็นเงิน7,500 บาท - ค่าวิทยากรอบรม จำนวน 1 คน x 6 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน3,600 บาท รวมเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 36,100 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนมีความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี
  2. ประชาชนให้ความสำคัญการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและดีต่อสุขภาพ
  3. เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
36100.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 36,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนมีความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการที่มีส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี
2. ประชาชนให้ความสำคัญการรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและดีต่อสุขภาพ
3. เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพมากขึ้น


>