กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแม่ขรี

เขตพื้นที่เทศบาลตำบลแม่ขรี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันการจมน้ำและการกู้ชีพการปฐมพยาบาลออย่างถูกวิธี

เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแม่ขรี  จำนวน  70  คน

0.00
2 2.เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและเด็กได้ตระหนักถึงอันตรายจากการจมน้ำ และมีวิธีป้องกันมิให้เด็กเกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ

ผู้ปกครองเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแม่ขรี  จำนวน  70 คน

0.00
3 3.3.เพื่อลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

สามารถลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

0.00

รายงานทางวิชาการ พบว่า กลุ่มเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่เสียชีวิตจากการจมน้ำ มักเกิดจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำ เพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดให้มีพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้กับเด็ก และการที่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็กไม่มีความรู้ในการกู้ชีพ/ปฐมพยาบาลผิดวิธี เป็นต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่ต้องมีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำที่เสี่ยงโดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการสอนให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง หมายถึง สอนให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง เน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม”และการตะโกนขอความช่วยเหลือ และผู้ปกครองถือว่ามีความสำคัญเป็นอย่างมากต้องมีความรู้ในการสอนบุตรหลาน ให้รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง และหากเด็กจมน้ำต้องมีความรู้ความเข้าใจในการกู้ชีพ / ปฐมพยาบาลอย่าถูกวิธีดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลแม่ขรี ได้จัดทำโครงการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย เพื่ออบรมให้ความรู้กับครู/ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครองขึ้น

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 31/01/2024

กำหนดเสร็จ 15/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.ขั้นเตรียม

ชื่อกิจกรรม
1.ขั้นเตรียม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.วางแผนโครงการ 2.นำเสนอโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 มกราคม 2567 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 2.ขั้นดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
2.ขั้นดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชนิดกิจกรรม 1. กิจกรรม - จัดอบรมให้ความรู้ครูเด็กและผู้ปกครองถึงอันตรายและวิธีการป้องกันมิให้เด็กเกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ 2. กิจกรรม
- แบ่งกลุ่มสาธิตการปฏิบัติตนเพื่อเอาชีวิตรอดเมื่ออยู่ในสถานการณ์อันตรายจากน้ำ 3 กิจกรรม - การติดตามประเมินผลก่อนดำเนินการ และหลังดำเนินการโครงการ งบประมาณ 1. ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.2x2.4 ม. เป็นเงิน 432 บาท 2. ค่าอาหารว่าง และเครื่องดื่มผู้ปกครอง (70x25)  เป็นเงิน 1,750  บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน    (ช.ม.ละ 600 x 2 ช.ม.)
เป็นเงิน 1,200  บาท รวม  3,382.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 1 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3382.00

กิจกรรมที่ 3 3.ขั้นสรุป

ชื่อกิจกรรม
3.ขั้นสรุป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การติดตามประเมินผลก่อนดำเนินการ และหลังดำเนินการโครงการ 2. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2567 ถึง 15 กุมภาพันธ์ 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,382.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็ก มีความรู้เกี่ยวกับมาตรการในการป้องกันการจมน้ำ และการกู้ชีพ การปฐมพยาบาลอย่างถูกวิธี
2. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็กได้ตระหนักถึงอันตรายจากการจมน้ำ และมีวิธีการป้องกันมิให้เด็กเกิดความสูญเสียจากการจมน้ำ
3. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ลดลง


>