กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ หมู่ที่ 3 บ้านจือนือแร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี

ชมรมออกกำลังกาย หมู่ที่ 3 (บ้านจือนือแร)

1. นายอันวามูรอตายอ
2. นายอาแซดอเลาะ
3. นางมูหยาบาห์มะเย็ง
4. นางสาวซารีดะบือตง
5. นายอับดุลเลาะห์ซายอ

ตำลบุดี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การออกกำลังกาย มีความจำเป็นควบคู่ไปกับการดำรงชีพของประชาชน ทั้งนี้เป็นการลดปัญหาการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจากโรคภัยไข้เจ็บก่อนเวลาอันควร ตลอดจนการการแก้ไขปัญกายาเสพติดโดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชน ดังนั้นการออกกำลังกายจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทำประชาชนมีสุขภาพแข็งเเรง มีจิตใจที่แจ่มใส ทางชมรมได้เห็นความสำคัญจึงได้จัดกิจกรรมการออกกำลังกายโดยใช้อุปกรณ์ ฮูลาฮูป ซึ่งเป็นการออกกำลังกายที่นำทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหว การเดิน ที่ช่วยพัฒนาร่างกาย ได้ทุกส่วน เพื่อเพิ่มบุคลิคที่ดี ทั้งยังสร้างความเพลิดเพลิน เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์และยังช่วยเสริมสร้างร่างกายแข็งแรงผ่อนคลายอารมณ์ และเสริมสร้างความสามัคคี

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน

สร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน ร้อยละ 90

1.00 1.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพ และการป้องกันโรค

ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาพ และการป้องกันโรคร้อยละ 90

1.00 1.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ

ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ร้อยละ 90

1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 23/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฮูลาฮูบลดพุง

ชื่อกิจกรรม
ฮูลาฮูบลดพุง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 800 บาท
  • ฮูลาฮูป จำนวน 30 อันๆละ 120 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
  • เครื่องชั้งน้ำหนัก 2 เครื่องๆละ 580 บาท เป็นเงิน 1,160 บาท
  • สายวัดเอว 5 เส้นๆละ 28 บาท เป็นเงิน 140 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5700.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเรื่อง สร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมเรื่อง สร้างเสริมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • อาหารกลางวัน จำนวน 30 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าอาหารว่าง จำนวน 30 คนๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาท  เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
23 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ และตระหนักถึงความสำคัญของการออกำลังกาย
2. ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ และหลีกเลี้ยงพฤติกรรมการกินอาหารที่เป็นโทษ
3. ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัว


>