กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเเด็กเล็กบ้านยางขาคีม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

30.00
2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

 

60.00
3 ร้อยละของเด็กเล็ก 2-6 ปี ที่เป็นโรคมือเท้าปากระบาด

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการของเด็กเล็ก (0-3 ปี) ลง

ร้อยละของเด็กเล็ก (2-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

30.00 50.00
2 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

40.00 50.00
3 เพื่อลดการเป็นโรคมือเท้าปากของเด็กเล็ก(2-6 ปี)

ร้อยละของเด็กเล็ก 2-6 ปี ที่เป็นโรคมือเท้าปากระบาด

10.00 5.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 30/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิทัล จำนวน 1 อันๆละ 1,300เป็นเงิน 1,300 บาท
  • ค่าไม้วัดส่วนสูงพร้อมฐานตั้ง จำนวน 1 อันๆละ1,200เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าแปรงสีฟันจำนวน 105 อันๆละ10 บาทเป็นเงิน 1,050 บาท
  • ค่ายาสีฟันจำนวน 10 หลอดๆละ60 บาทเป็นเงิน 600 บาท
  • ค่าพลาสเตอร์ปิดแผลจำนวน 3 กล่องๆละ 150 บาทเป็นเงิน 450 บาท
    • ค่าเจลล้างมือขนาดบรรจุ 1 ลิตร จำนวน 5 ขวดๆละ 180 เป็นเงิน 900 บาท
    • ค่าไฮเตอร์เพื่อใช้ทำความสะอาด จำนวน 20 ขวดๆละ 40 บาท เป็นเงิน 800 บาท
    • ค่าถุงมือป้องกันเชื้อโรค เบอร์ S จำนวน 5 กล่องๆละ 180 บาท เป็นเงิน 900 บาท
    • ค่าถุงใส่ขยะติดเชื้อ จำนวน 10 กิโลกรัมๆละ 70 บาท เป็นเงิน 700 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม มีการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาวะสุขภาพอนามัยและโภชนาการของผู้เรียน
นักเรียนมีสุขภาพอนามัยและโภชนาการดีตามวัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7900.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยและโภชนาการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ ขั้นวางแผน (P-PLAN)
ศึกษาข้อมูลนำเสนอโครงการขอ อนุมัติโครงการ ประชุมวางแผน การจัดกิจกรรม ขั้นดำเนินงาน/ปฏิบัติตามแผน (D-DO) ดำเนินการจัดกิจกรรม แบบบูรณาการ ดังนี้
1. กิจกรรมเสริมประสบการณ์การเรียนรู้สู่สุขภาพอนามัยและโภชนาการ
2. กิจกรรมตรวจสุขภาพร่างกายประจำวัน 3. กิจกรรมการออกกำลังกาย 4. กิจกรรมตรวจสุขภาพในช่องปากและการแปรงฟันหลังอาหาร 5. กิจกรรมดูแลส่งเสริมโภชนาการ การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
6. กิจกรรมป้องกันโรคระบาดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 7. กิจกรรมไม่ซื้อและรับประทานขนมที่ไม่มีประโยชน์ 8. กิจกรรมจัดหายาและอุปกรณ์เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น ขั้นติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล การดำเนินงาน (C-Check)
กิจกรรม ทั้งก่อน ระหว่างและ หลังปฏิบัติกิจกรรม โดยการ ตรวจสอบและประเมินผลการ
ดำเนินงานทุกขั้นตอน ขั้นสรุปผล แก้ไข สรุปผลการ ดำเนินงาน (A-ACT)
ปรับปรุง แก้ไข ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานพร้อมทั้ง สรุปผลการ ปฏิบัติงานของแต่ละกิจกรรม รายงานผล

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านยางขาคีม มีการบริหารจัดการสร้างเสริมสุขภาวะสุขภาพอนามัยและโภชนาการของผู้เรียน
นักเรียนมีสุขภาพอนามัยและโภชนาการดีตามวัย


>